บทสวด บุพพกรณ์และบุพพกิจ

บทสวดพระปาฏิโมกข์
บทสวด บุพพกรณ์และบุพพกิจ

( แบบองค์เดียว)

อุโปสะถะกะระณะโต ๑ ปุพเพ นะวะวิธัง ปุพพะกิจจัง กาตัพพัง โหติ. ตัณฐานะสัมมัชชะนัญจะ ตัตถะ ปะทีปุชชะ ละนัญจะ
อาสะนะปัญญะปะนัญจะ ปานียะปะริโภชนะนียูปัฏฐะ ปะนัญจะ ฉันทาระหานัง ภิกขูนัง ฉันทาหะระณัญจะ เตสัญเญวะ
อะกะตุโปสะถานัง ปาริสุทธิยาปิ ๒ อาหะระณัญจะ อุตุกขานัญจะ ภิกขุคะณะนา จะ ภิกขุนีนะโมวาโท จาติ.
ตัตถะ ปุริมานิ จัตตาริ ๓ ภิกขูนัง วัตตัง ชานันเตหิ อารามิเกหิปิ ภิกขูหิปิ ๔ กะตานิ ปะรินิฏฐิตานิ โหนติ.
ฉันทาหะระณะปาริสุทธิ ๕ อาหะระณานิ ปะนะ อิมิสสัง สีมายัง หัตถะปาสัง วิชะหิต๎วา นิสินนานัง ภิกขูนัง อะภาวะโต นัตถิ.
อุตุกขานัง นามะ เอตตะกัง อะติกกันตัง , เอตตะกัง อะวะสิฏฐันติ เอวัง อุตุอาจิกขะนัง , อุตูนีธะ ปะนะ สาสะเน
เหมันตะคิมหะวัสสานานัง วะเสนะ ตีณิ โหนติ. อะยัง เหมันโตตุ ๖ อัส๎มิญจะ อุตุมหิ อัฏฐะ อุโปสะถา , อิมินา ปักเขมะ เอโก
อุโปสะโถ สัมปัตโต เท๎ว อุโปสะถา อะติกกันตา ปัญจะ อุโป สะถา อะวะสิฏฐา ๗ อิติ เอวัง สัพเพหิ อายัส๎มันเตหิ อุตุกขานัง
ธาเรตัพพัง. (รับว่าเอวัง ภันเต พร้อมกัน ผู้แก่ว่า เอวัง อาวุโส หรือ เอวัง )

ภิกขุคะณะนา นามะ อิมัส๎มิง อุโปสะถัคเค ๘ อุโปสะถัตถายะ ๘ สันนิปะติตา ภิกขู เอตตะกาติ ภิกขูนัง คะณะนา.
อิมัส๎มิมปะนะ อุโปสะถัคเค ๙ จัตตาโร ๑๐ ภิกขู สันนิปะติตา โหนติ. อิติ เอวัง สัพเพหิ อายัส๎มันเตหิ ภิกขุคะณะนาปิ
ธาเรตัพพา. ( รับว่า เอวัง ภันเต พร้อมกัน แก่ว่า เอวัง อาวุโส หรือ เอวัง )

ภิกขุนีนะโมวาโท ปะนะ อิทานิ ตาสัง นัตถิตายะ นัตถิ. อิติ สะกะระโณกาสานัง ปุพพะกิจจานัง กะตัตตา นิกกะระโณ กาสานัง
ปุพพะกิจจานัง ปะกะติยา ปะรินิฏฐิตัตตา เอวันตัง นะวะวิธัง ปุพพะกิจจัง ปะรินิฏฐิตัง โหติ.
นิฏฐิเต จะ ปุพพะกิจเจ สะเจ โส ทิวะโส จาตุททะสี ปัณณะระสี สามัคคีนะมัญญะตะโร ยะถาชชะอุโปสะโถ ๑๑ ปัณ ณะระโส ๑๒
ยาวะติกา จะ ภิกขู กัมมัปปัตตา สังฆุโปสะถาระหา จัตตาโร ๑๓ วา ตะโต วา อะติเรกา ปะกะตัตตา ปาราชิกัง อะนาปันนา สังเฆนะ วา
อะนุกขิตตา , เต จะ โข หัตถะปาสัง อะวิชะหิต๎วา เอกะสีมายัง ฐิตา , เตสัญจะ วิกาละโภชะนาทิ วะเสนะ วัตถุสะภาคาปัตติโย เจ นะ
วิชชันติ , เตสัญจะ หัตถะ ปาเส หัตถะปาสะโต พะหิกะระณะวะเสนะ วัชเชตัพโพ โกจิ วัชชะนียะปุคคะโล เจ นัตถิ.
เอวังตัง อุโปสะถะกัมมัง ๑๔ อิเมหิ จะตูหิ ลักขะเณหิ สังคะหิตัง ปัตตะกัลลัง นามะ โหติ กาตุง ยุตตะรูปัง
อุโปสะถะกัมมัสสะ ๑๕ ปัตตะกัลลัตตัง วิทิต๎วา อิทานิ กะริยะมาโน อุโปสะโถ สังเฆนะ อะนุมาเนตัพโพ ๑๖
( รับว่า สาธุ พร้อมกัน)

( ต่อจากนี้ท่านผู้แก่กว่าในสงฆ์ ถ้าไม่ได้สวดเอง พึงกล่าวคำ อัชเฌสนา ว่าดังนี้)

ปุพพะกะระณะปุพพะกิจจานิ สะมาเปต๎วา อิมัสสะ นิสินนัสสะ ภิกขุสังฆัสสะ อะนุมะติยา ปาฏิโมกขัง อุททิสิตุง
อัชเฌสะนัง กะโรมิ.

วิธีเปลี่ยนบุพพกิจตามลำดับเลขเชิงอรรถ

๑. ถ้าเป็นวันปวารณา พึงว่า ปะวาระณากะระณะโต

๒. ถ้าเป็นวันปวารณา พึงว่า อะกะตะปะวาระณานัง ปะวาระณายะปิ

๓. ถ้ากลางวัน พึงว่า ตัตถะ ปุริเมสุ จะตูสุ กิจเจสุ ปะทีปะกิจจัง อิทานิ สุริยาโลกัสสะ อัตถิตายะ นัตถิ อะปะรานิ ตีณิ .

๔. ถ้ารูปเดียว พึงว่า ภิกขูนัง วัตตัง ชานะตา ภิกขุนา ถ้าหลายรูป ไม่มีอารามิกะ พึงว่าแต่ ภิกขูหิ เท่านั้น

๕. ถ้าวันปวารณา พึงว่า ปะวาระณาอาหะระณานิ

๖. ถ้าเป็นคิมหฤดู พึงว่า คิมโหตุ ถ้าเป็นวัสสานฤดู พึงว่า วัสสาโนตุ

๗. นี้เป็นฤดูที่ไม่มีอธิกมาส ไม่มีปวารณาและเป็นอุโบสถที่ ๓ ถ้าเป็นอุโบสถ ที่ ๑ พึงว่า เอโก อุโปสะโถ สัมปัตโต
สัตตะ อุโปสะถา อะวะสิฏฐา ถ้าเป็นอุโบสถที่ ๒ คือล่วงแล้ว ๑ ปัจจุบัน ๑ ยังเหลืออยู่อีก ๖ พึงว่า เอโก อุโปสะโถ
อะติกกันโต ฉะ อุโปสะถา อะวะสิฏฐา

ถ้าล่วงแล้ว ๒-๓-๔-๕-๖ อุโบสถ ยังเหลืออยู่ ๕-๔-๓-๒-๑ อุโบสถ พึงว่า

เท๎ว อุโปสะถา อะติกกันตา
ตะโย
จัตตาโร
ปัญจะ
ฉะ
ปัญจะ อุโปสะถา อะวะสิฏฐา
จัตตาโร
ตะโย
เท๎ว

เอโก อุโปสะโถ อะวะสิฏโฐ

ถ้าล่วง ๗ อุโบสถ ปัจจุบัน ๑ รวมเป็น ๘ อุโบสถบริบูรณ์ พึงว่าสัตตะ อุโปสะถา อะติกกันตา อัฏฐะ อุโปสะถา ปะริปุณณา

ถ้าฤดูที่มีอธิกมาส พึงว่า อธิกะมาสะวะเสนะ ทะสะ อุโปสะถา อิมินา ปักเขนะ เอโก อุโปสะโถ สัมปัตโต นะวะ อุโปสะถา อะวะสิฏฐา
อุโบสถที่ ๒-๓ ถึงที่ ๑๐ ก็ให้เปลี่ยนทำนองเดียวกันกับ ฤดูที่ไม่มีอธิกมาส ต่างกันที่ต้องเติมคำว่า
อะธิกะมาสะวะเสนะ เข้า ข้างหน้าเสมอ เท่านั้น

ฤดูที่ไม่มีอธิกมาส แต่มีปวารณา อุโบสถที่ ๑ ให้เปลี่ยนว่า สัตตะจะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อิมินา ปักเขนะ เอโก
อุโปสะโถ สัมปัตโต ฉะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อะวะสิฏฐา. ถ้าล่วงแล้ว ๕ อุโบสถ ปัจจุบันเป็นปวารณา ยังเหลืออีก ๒
อุโบสถ พึงเปลี่ยน สัตตะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อิมินา ปักเขนะ เอกา ปะวาระณา สัมปัตตา ปัญจะ อุโปสะถา อะติกกันตา
เท๎ว อุโปสะถา อะวะสิฏฐา ถ้าเป็นอุโบสถที่สุด คือ ล่วงแล้ว ๖ อุโบสถ กับปวารณา ๑ ปัจจุบัน ๑ พึงเปลี่ยนว่า สัตตะ จะ
อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อิมินา ปักเขมะ เอโก อุโปสะโถ สัมปัตโต ฉะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อะติกกันตา , สัตตะ จะ
อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา ปะริปุณณา.

ถ้าฤดูที่มีอธิกมาสและปวารณาด้วย อุโบสถที่ ๑ พึงเปลี่ยนว่า อะธิกะมาสะวะเสนะ นะวะ จะ อุโบสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อิมินา
ปักเขนะ เอโก อุโปสะโถ สัมปัตโพ อัฏฐะ จะ อุโปสะถา

เอกา จะ ปะวาระณา อะวะสิฏฐา อุโบสถต่อไป ก็พึงเปลี่ยนทำนอง เดียวกันกับฤดูที่ไม่มีอธิกมาส มีแต่ปวารณา
ต่างกันแต่เติมว่า อะธิกะมาสะวะเสนะ เข้าข้างหน้าเสมอเท่านั้น

๘. ถ้าวันปวารณา พึงว่า ปะวาระณัคเค ปะวาระณัตถายะ

๙. ถ้าวันปวารณา พึงว่า ปะวาระณัคเค

๑๐. นี้ภิกษุ ๔ รูป ถ้า ๕ รูปว่า ปัญจะ ภิกขู ๖ รูปว่า ฉะ ภิกขู ๗ รูปว่า สัตตะ ภิกขู ๘ รูปว่า อัฏฐะ ภิกขู ๙ รูปว่า
นะวะ ภิกขู ๑๐ รูปว่า ทะสะ ภิกขู (ต่อจากนี้พึงดูแบบการนับ)

๑๑. ถ้าเป็นวันปวารณา พึงว่า ยะถาชชะ ปะวาระณา

๑๒. ถ้าเป็นอุโบสถที่ ๑๔ ว่า จาตุททะโส ถ้าเป็นวันปวารณาที่ ๑๔ ว่า จาตุททะสี วันปวารณาที่ ๑๕ ว่า ปัณณะระสี

๑๓. ถ้าเป็นวันปวารณา พึงว่า สังฆะปะวาระณาระหา ปัญจะ วา

๑๔. ถ้าเป็นวันปวารณา พึงว่า เอวันตัง ปะวาระณากัมมัง

๑๕. ถ้าเป็นวันปวารณา พึงว่า ปะวาระณากัมมัสสะ

๑๖. ถ้าเป็นวันปวารณา พึงว่า อิทานิ กะริยะมานา ปะวาระณา

สังเฆนะ อะนุมาเนตัพพา.