มีข้อมูลที่ใกล้เคียงคือ

ศัพท์บาลี --->>เอวํ-->> คำแปล --->>นิ. ฉันนั้น, ด้วยประการฉะนี้, อ. อย่างนั้น, อย่างนี้ เป็นนิบาตบอกประการ แปลว่า “ฉันนั้น” เช่น เอวํ สมฺปทมิทํ เวทิตพฺพํ = อ. คำเป็นเครื่อง ยังอุปมาให้ถึงพร้อมนี้ อันบัณฑิต พึงทราบ ฉันนั้น [ธ.๑: สญฺชยวตฺถุ หน้า ๘๗], แปลว่า “ด้วย ประการฉะนี้” เช่น เอวํ โส (สุนโข) ตสฺมึ (ปจฺเจก พุทฺเธ) พลวสิเนหํ อุปฺปาเทสิ = อ. สุนัขนั้น ยัง ความรักอันมีกำลัง ให้เกิดขึ้นแล้ว ในพระปัจเจก พุทธเจ้านั้น ด้วยประการฉะนี้ [ธ.๒: สามาวตีวตฺถุ หน้า ๑๑], แปลว่า “อ. อย่างนั้น” เช่น เอวํ ภนฺเต = ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. อย่างนั้น หรือ [ธ.๑: หน้า ๕๘], แปลว่า “อย่างนี้” เช่น เอวํ ตีหิ คาถาหิ อตฺตโน โอวาทํ ทตฺวา … = ครั้นให้แล้ว ซึ่งโอวาท แก่ตน ด้วยคาถา ท. สาม อย่างนี้ … [ธ.๑: จกฺขุปาล- หน้า ๑๑]

ศัพท์บาลี --->>เอวํพหุก-->> คำแปล --->>ว. อันมากอย่างนี้ นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ต.พหุ. เอวํพหุเกหิ (วตฺถูหิ) ด้วยวัตถุ ท. อันมากอย่างนี้

ศัพท์บาลี --->>เอวํวาที-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (มหาสมโณ) อ. พระมหาสมณะ ผู้มี อันตรัสอย่างนี้เป็นปกติ แจกเหมือน เสฏฺ มา จาก เอวํ + วท ธาตุ ในความกล่าว + ณี ปัจจัย ด้วย อำนาจ ณี ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อี ได้รูปเป็น เอวํวาที แปลว่า ผู้มีอันตรัส อย่างนี้เป็นปกติ เป็นสมาสรูป ตัสสีลสาธนะ วิ.ว่า เอวํ วตฺตุ สีลมสฺสาติ เอวํวาที (มหาสมโณ)


คำศัทพ์