มีข้อมูลที่ใกล้เคียงคือ

ศัพท์บาลี --->>เทว-->> คำแปล --->>๑ น.,ปุ. เทวดา,เทพ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. เทโว อ. เทวดา พหุ. เทวา อ. เทพ ท.

ศัพท์บาลี --->>เทว-->> คำแปล --->>๒ น.,ปุ. ฝน แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. เทโว อ. ฝน

ศัพท์บาลี --->>เทว-->> คำแปล --->>๓ น.,ปุ. พระองค์ผู้สมมติเทพ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. เทโว อ. พระองค์ผู้สมมติเทพ

ศัพท์บาลี --->>เทวกุมาร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กุมารแห่งเทพ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. เทวกุมาโร อ. กุมารแห่งเทพ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เทวสฺส กุมาโร = เทวกุมาโร

ศัพท์บาลี --->>เทวกุล-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ตระกูลแห่งเทพ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. เทวกุลํ ซึ่งตระกูลแห่งเทพ เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เทวสฺส กุลํ = เทวกุลํ เฉพาะปัญจมีวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ ลง โต ปัจจัย เป็น เทวกุลโต บ้าง

ศัพท์บาลี --->>เทวจฺฉรปฏิภาคา-->> คำแปล --->>ว.,อิต. (อิตฺถี) อ. หญิง ผู้มีส่วน เปรียบด้วยนางเทพอัปสร เป็นฉัฏฐีภินนาธิกรณ พหุพพิหิสมาส วิ.ว่า เทวจฺฉราย ปฏิภาโค ยสฺสา สา เทวจฺฉรปฏิภาคา (อิตฺถี)

ศัพท์บาลี --->>เทวจฺฉรา-->> คำแปล --->>น.,อิต. นางเทพอัปสร แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.พหุ. เทวจฺฉรา ซึ่งนางเทพอัปสร ท.

ศัพท์บาลี --->>เทวตา-->> คำแปล --->>น.,อิต. เทวดา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. เทวตา อ. เทวดา

ศัพท์บาลี --->>เทวตานุภาว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อานุภาพของเทวดา แจก เหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. เทวตานุภาเวน ด้วย อานุภาพของเทวดา เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เทวตาย อานุภาโว = เทวตานุภาโว

ศัพท์บาลี --->>เทวตาสต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ร้อยแห่งเทวดา ดู อจฺฉราสต

ศัพท์บาลี --->>เทวทตฺต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระเทวทัต แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. เทวทตฺโต อ. พระเทวทัต

ศัพท์บาลี --->>เทวทตฺตตฺเถร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระเถระชื่อว่าเทวทัต แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. เทวทตฺตตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่าเทวทัต เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า เทวทตฺโต เถโร = เทวทตฺตตฺเถโร [ซ้อน ตฺ]

ศัพท์บาลี --->>เทวทตฺตวตฺถุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งพระเทวทัต เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เทวทตฺตสฺส วตฺถุ = เทวทตฺตวตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>เทวทตฺติยธน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ทรัพย์อันเทวดาให้แล้ว แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. เทวทตฺติยธนํ ซึ่ง ทรัพย์อันเทวดาให้แล้ว เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีตติยาตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ต.ตัป.วิ. เทเวน ทินฺนํ = เทวทตฺติยํ (ธนํ) ทรัพย์ อันเทวดา ให้แล้ว ชื่อว่า เทวทตฺติยํๆ อันเทวดาให้แล้ว วิ.บุพ.กัม. วิ. เทวทตฺติยํ ธนํ = เทวทตฺติยธนํ คำว่า ทตฺติย แปลงมาจาก ทินฺน โดยมีข้อกำหนดว่า ทินฺน ถ้ามี พุทฺธ เทว หรือ สกฺก อยู่หน้า ให้แปลง ทินฺน เป็น ทตฺติย แต่ในรูปวิเคราะห์ให้ใช้ศัพท์เดิม คือ ทินฺน]

ศัพท์บาลี --->>เทวทูต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เทวทูต แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.พหุ. เทวทูเต ซึ่งเทวทูต ท.

ศัพท์บาลี --->>เทวทูตสุตฺตนฺต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. เทวทูตสูตร แจกเหมือน กุล เช่น ต.เอก. เทวทูตสุตฺตนฺเตน ด้วย เทวทูตสูตร

ศัพท์บาลี --->>เทวธีตุ-->> คำแปล --->>น.,อิต. เทพธิดา แจกเหมือน มาตุ เช่น ป.เอก. เทวธีตา อ. เทพธิดา

ศัพท์บาลี --->>เทวนคร-->> คำแปล --->>น.,นปุ. นครแห่งเทพ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. เทวนครํ ซึ่งนครแห่งเทพ เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เทวานํ นครํ = เทวนครํ

ศัพท์บาลี --->>เทวนครทฺวาร-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ประตูแห่งเทพนคร แจก เหมือน กุล เช่น ส.พหุ. เทวนครทฺวาเรสุ ที่ประตู แห่งเทพนคร ท. เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เทวนครสฺส ทฺวารานิ = เทวนครทฺวารานิ

ศัพท์บาลี --->>เทวนคราภิมุโข-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (สกฺโก) อ. ท้าวสักกะ ผู้มี พระพักตร์เฉพาะต่อเทพนคร เป็นฉัฏฐีภินนาธิ กรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า เทวนครสฺส อภิมุขํ ยสฺส โส เทวนคราภิมุโข (สกฺโก) พระพักตร์ เฉพาะ ต่อเทพนคร ของท้าวสักกะใด (มีอยู่) ท้าวสักกะนั้น ชื่อว่าผู้มีพระพักตร์เฉพาะต่อ เทพนคร แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>เทวปริสา-->> คำแปล --->>น.,อิต. บริษัทแห่งเทวดา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ต.เอก. เทวปริสาย ด้วยบริษัทแห่ง เทวดา เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เทวานํ ปริสา = เทวปริสา

ศัพท์บาลี --->>เทวปุตฺต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เทวบุตร แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. เทวปุตฺโต อ. เทวบุตร

ศัพท์บาลี --->>เทวมนุสฺสา-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อ. เทวดาและมนุษย์ ท. เป็นอสมาหารทวันทวสมาส วิ.ว่า เทโว จ มนุสฺโส จ = เทวมนุสฺสา แจกเหมือน ปุริส เฉพาะฝ่ายพหุวจนะ

ศัพท์บาลี --->>เทวมารพฺรหฺมนาคสุปณฺณาทีนํ-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (อมนุสฺ- สานํ) แห่งอมนุษย์ ท. มีเทวดาและมารและ พรหมและนาคและครุฑเป็นต้น เป็นฉัฏฐี ตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีอสมาหราทวันทว สมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทวัน.วิ. เทโว จ มาโร จ พฺราหฺมา จ นาโค จ สุปณฺโณ จ = เทวมารพฺรหฺมนาคสุปณฺณา ฉ.ตุล.วิ. เทวมารพฺรหฺมนาคสุปณฺณา อาทโย เยสํ เต เทวมารพฺรหฺมนาคสุปณฺณาทโย (อมนุสฺสา) เทวดาและมารและพรหมและนาค และครุฑ ท. เป็นต้น ของอมนุษย์ ท. เหล่าใด อมนุษย์ ท. เหล่านั้น ชื่อว่ามีเทวดาและมารและ พรหมและนาคและครุฑเป็นต้น แจกเหมือน มุนิ

ศัพท์บาลี --->>เทวรชฺชสิรีธโร-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (สกฺโก) อ. ท้าวสักกะ ผู้ทรง ไว้ซึ่งสิริคือความเป็นแห่งพระราชาแห่งเทพ เป็นทุติยาตัปปุริสสมาส มี ณฺย ปัจจัย ใน ภาวตัทธิต ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส และอวธารณ บุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ณฺย.ภาว.วิ. รญฺโญ ภาโว = รชฺชํ [ราช + ณฺย ลบ ณฺ เหลือไว้แต่ ย แปลง ช กับ ย เป็น ชฺช ลบ อา ที่ รา ได้รูปเป็น รชฺช] ฉ.ตัป. วิ. เทวานํ รชฺชํ = เทวรชฺชํ อว.บุพ.กัม.วิ. เทวรชฺชํ เอว สิริ = เทวรชฺชสิริ ทุ.ตัป.วิ. เทวรชฺชสิรึ ธโร = เทวรชฺชสิรีธโร (สกฺโก) [ทีฆะ อิ ที่ ริ เป็น รี ตามกฎของปัฐยาวัตรฉันท์ อักษรตัวที่ ๖ ในบาทคู่ ต้องเป็น ครุ]

ศัพท์บาลี --->>เทวราช-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เทวดาผู้พระราชา แจกเหมือน มหาราช เช่น ป.เอก. เทวราชา อ. เทวดา ผู้พระราชา เป็นวิเสสนุตตรบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า เทโว ราชา = เทวราชา

ศัพท์บาลี --->>เทวล-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. เทวละ (ชื่อของดาบส) แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. เทวโล (ตาปโส) อ. ดาบส ชื่อว่าเทวละ

ศัพท์บาลี --->>เทวสภา-->> คำแปล --->>น.,อิต. เทวสภา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. เทวสภา อ. เทวสภา

ศัพท์บาลี --->>เทวสมาคม-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สมาคมแห่งเทวดา แจก เหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. เทวสมาคมํ สู่สมาคมแห่งเทวดา เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เทวานํ สมาคโม = เทวสมาคโม

ศัพท์บาลี --->>เทวสิกํ-->> คำแปล --->>๑ นิ. ทุกๆ วัน เช่น เทวสิกํ …ภิกฺขุสหสฺสานิ ภุญฺชนฺติ = อ. พันแห่งภิกษุ ท. ย่อมฉัน … ทุกๆ วัน [ธ. ๑: สุมนาเทวีวตฺถุ หน้า ๑๔๑]

ศัพท์บาลี --->>เทวสิกํ-->> คำแปล --->>๒ ว.,ปุ. (กาลํ) ตลอดกาล อันเป็นไปในวัน มาจาก ทิวส + ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต ใช้แทน วตฺตติ ด้วยอำนาจ ณิก ปัจจัย วิการ อิ ที่ ทิวส เป็น เอ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อิก ได้รูปเป็น เทวสิก วิ.ว่า ทิวเส วตฺตตีติ เทวสิโก (กาโล) กาลใด ย่อมเป็นไป ในวัน เหตุนั้น กาลนั้น ชื่อว่า อันเป็นไปในวัน

ศัพท์บาลี --->>เทวสิริ-->> คำแปล --->>น.,อิต. สิริแห่งเทพ แจกเหมือน รตฺติ เช่น ทุ.เอก. เทวสิรึ ซึ่งสิริแห่งเทพ เป็นฉัฏฐีตัปปุริส สมาส วิ.ว่า เทวสฺส สิริ = เทวสิริ

ศัพท์บาลี --->>เทวา-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อ. เทพและมนุษย์ ท. [เทว + มนุสฺส] แจกเหมือน ปุริส เป็นปุพเพกเสสสมาส คือลบ ศัพท์หลัง เหลือศัพท์หน้า วิ.ว่า เทวา จ มนุสฺสา จ = เทวา เทพ ท. ด้วย มนุษย์ ท. ด้วย ชื่อว่า เทวาๆ เทพและมนุษย์ ท.

ศัพท์บาลี --->>เทวาติเทว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เทพยิ่งกว่าเทพ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. เทวาติเทวํ ซึ่งเทพยิ่งกว่าเทพ เป็นปัญจมีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เทเวหิ อติเทโว = เทวาติเทโว

ศัพท์บาลี --->>เทวานมินฺท-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ท้าวเทวานมินทะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. เทวานมินฺโท อ. ท้าวเทวานมินทะ

ศัพท์บาลี --->>เทวาสุรสงฺคาเม-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ในเพราะสงครามแห่ง เทวดาและอสูร เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มี อสมาหารทวันทวสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทวัน.วิ. เทวา จ อสุรา จ = เทวาสุรา ฉ.ตัป.วิ. เทวาสุรานํ สงฺคาโม = เทวาสุรสงฺคาโม

ศัพท์บาลี --->>เทวินฺท-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้เป็นจอมแห่งเทพ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. เทวินฺโท (สกฺโก) อ. ท้าวสักกะ ผู้เป็นจอมแห่งเทพ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เทวานํ อินฺโท = เทวินฺโท (สกฺโก)

ศัพท์บาลี --->>เทวิสฺสริยาทีนํ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (อิฏฺผลานํ) แห่งอิฏฐผล ท. มีความเป็นใหญ่ในเทวดาเป็นต้น เป็น ฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีสัตตมีตัป ปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ตัป.วิ. เทเวสุ อิสฺสริยํ = เทวิสฺสริยํ ฉ.ตุล.วิ. เทวิสฺสริยํ อาทิ เยสํ ตานิ เทวิสฺสริยาทีนิ (อิฏฺผลานิ) ความเป็นใหญ่ในเทวดา เป็นต้น ของอิฏฐผล ท. เหล่าใด อิฏฐผล ท. เหล่านั้น ชื่อว่า มีความเป็นใหญ่ในเทวดาเป็นต้น แจกเหมือน อกฺขิ

ศัพท์บาลี --->>เทวี-->> คำแปล --->>น.,อิต. พระเทวี แจกเหมือน นารี เช่น ป.เอก. เทวี อ. พระเทวี

ศัพท์บาลี --->>เทวโลก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เทวโลก แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. เทวโลโก อ. เทวโลก เฉพาะปัญจมีวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ ลง โต ปัจจัย เป็น เทวโลกโต บ้าง

ศัพท์บาลี --->>เทวโลกสิริ-->> คำแปล --->>น.,อิต. สิริในเทวโลก แจกเหมือน รตฺติ เช่น ทุ.เอก. เทวโลกสิรึ ซึ่งสิริในเทวโลก เป็น สัตตมีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เทวโลเก สิริ = เทวโลกสิริ


คำศัทพ์