มีข้อมูลที่ใกล้เคียงคือ

ศัพท์บาลี --->>อาจริย-->> คำแปล --->>๑ น.,ปุ. อาจารย์ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. อาจริโย อ. อาจารย์

ศัพท์บาลี --->>อาจริย-->> คำแปล --->>๒ ว. ผู้อันศิษย์พึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. อาจริโย (ปุคฺคโล) อ. บุคคล ผู้อันศิษย์พึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ คำว่า อาจริย มาจาก อา - อาทร บทหน้า + จร ธาตุ ในความประพฤติ + ณฺย ปัจจัย ลบ ณฺ เหลือไว้แต่ ย ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น อาจริย แปลว่า อัน… พึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ เป็นกัมมรูป กัมมสาธนะ วิ.ว่า อาทเรน จริตพฺโพติ อาจริโย (ปุคฺคโล) [มังคลัตถทีปนี ภาค ๒ หน้า ๒๗๘ ข้อ ๓๖๖] บุคคลใด อันศิษย์ พึงประพฤติ โดยเอื้อเฟื้อ เหตุนั้น บุคคลนั้น ชื่อว่า อาจริโยๆ อันศิษย์พึงประพฤติ โดยเอื้อเฟื้อ

ศัพท์บาลี --->>อาจริยฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ฐานะ (ตำแหน่ง) แห่งอาจารย์ แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. อาจริยฏฺาเน ใน ฐานะแห่งอาจารย์ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า อาจริยสฺส านํ = อาจริยฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ]

ศัพท์บาลี --->>อาจริยปูชก-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้บูชาซึ่งอาจารย์ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. อาจริยปูชโก (สารีปุตฺโต) อ. พระสารีบุตร ผู้บูชาซึ่งอาจารย์ เป็นฉัฏฐีตัปปุริส สมาส วิ.ว่า อาจริยสฺส ปูชโก = อาจริยปูชโก (สารีปุตฺโต) คำว่า ปูชก ในคำว่า อาจริยปูชก มาจาก ปูช ธาตุ ในความบูชา + ณฺวุ ปัจจัย แปลง ณฺวุ เป็น อก ได้รูปเป็น ปูชก แปลว่า ผู้บูชา เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ วิ.ว่า ปูเชตีติ ปูชโก (สารีปุตฺโต)

ศัพท์บาลี --->>อาจริยภาค-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ส่วนแห่งอาจารย์ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. อาจริยภาโค อ. ส่วนแห่งอาจารย์ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า อาจริยสฺส ภาโค = อาจริยภาโค

ศัพท์บาลี --->>อาจริยวตฺต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. วัตรเพื่ออาจารย์ ดู อาคนฺตุกภตฺต

ศัพท์บาลี --->>อาจริยุปชฺฌายา-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อ. อาจารย์และอุปัชฌาย์ ท. แจกเหมือน ปุริส เฉพาะฝ่ายพหุวจนะ เป็น อสมาหารทวันทวสมาส วิ.ว่า อาจริโย จ อุปชฺฌาโย จ = อาจริยุปชฺฌายา


คำศัทพ์