มีข้อมูลที่ใกล้เคียงคือ

ศัพท์บาลี --->>น-->> คำแปล --->>นิ. ไม่, หามิได้ เป็นนิบาตบอกปฏิเสธ แปล พร้อมกับกิริยาหรือนามศัพท์ ให้แปลว่า ไม่ แปล พร้อมกับกิริยา เช่น น กเถสิ = ไม่กล่าวแล้ว แปล พร้อมกับนามศัพท์ เช่น น จิรสฺส = ต่อกาลไม่นาน ถ้าแปลทีหลังกิริยาหรือนามศัพท์ ให้แปลว่า หามิได้ แปลหลังกิริยา เช่น น กิลมนฺติ = ย่อม ลำบาก หามิได้ แปลหลังนามศัพท์ เช่น น อสฺโส = เป็นม้า หามิได้

ศัพท์บาลี --->>นกฺขตฺต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. นักษัตร แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นกฺขตฺตํ อ. นักษัตร

ศัพท์บาลี --->>นกฺขตฺตปีฬน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ความหม่นหมองแห่ง นักษัตร แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นกฺขตฺต- ปีฬนํ ซึ่งความหม่นหมองแห่งนักษัตร เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นกฺขตฺตสฺส ปีฬนํ = นกฺขตฺตปีฬนํ

ศัพท์บาลี --->>นกฺขตฺตโกวิท-->> คำแปล --->>ว. ผู้ฉลาดในนักษัตร แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นกฺขตฺตโกวิโท (ปุคฺคโล) อ. บุคคล ผู้ฉลาดในนักษัตร เป็นฉัฏฐีตัปปุริส สมาส วิ.ว่า นกฺขตฺตสฺส โกวิโท = นกฺขตฺตโกวิโท (ปุคฺคโล) ดู อตฺถกุสล

ศัพท์บาลี --->>นกฺขตฺตโยค-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความประกอบแห่งนักษัตร แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก นกฺขตฺตโยคํ ซึ่งความประกอบแห่งนักษัตร เป็นฉัฏฐีตัปปุริส สมาส วิ.ว่า นกฺขตฺตสฺส โยโค = นกฺขตฺตโยโค

ศัพท์บาลี --->>นข-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เล็บ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. นขา อ. เล็บ ท.

ศัพท์บาลี --->>นขปญฺชร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กรงแห่งเล็บ แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. นขปญฺชเร ที่กรงแห่งเล็บ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นขานํ ปญฺชโร = นขปญฺชโร

ศัพท์บาลี --->>นขปิฏฺ-->> คำแปล --->>น.,นปุ หลังแห่งเล็บ แจกเหมือน กุล เช่น ต.เอก. นขปิฏฺเน ด้วยหลังแห่งเล็บ เป็นฉัฏฐี ตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นขานํ ปิฏฺ = นขปิฏฺ

ศัพท์บาลี --->>นคร-->> คำแปล --->>น.,นปุ. พระนคร แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นครํ อ. พระนคร เฉพาะปัญจมีวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ ลง โต ปัจจัย เป็น นครโต บ้าง

ศัพท์บาลี --->>นครทฺวาร-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ประตูแห่งพระนคร แจก เหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นครทฺวารํ ซึ่งประตูแห่ง พระนคร เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นครสฺส ทฺวารํ = นครทฺวารํ

ศัพท์บาลี --->>นครทฺวารนฺตร-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ระหว่างแห่งประตูแห่ง พระนคร แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. นคร- ทฺวารนฺตเร ที่ระหว่างแห่งประตูแห่งพระนคร เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. นครสฺส ทฺวารํ = นครทฺวารํ ฉ.ตัป.วิ. นครทฺวารสฺส อนฺตรํ = นครทฺวารนฺตรํ

ศัพท์บาลี --->>นครทฺวารปาลก-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้รักษาซึ่งประตูแห่ง พระนคร แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นคร- ทฺวารปาลโก (ปุคฺคโล) อ. บุคคล ผู้รักษาซึ่ง ประตูแห่งพระนคร เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. นครสฺส ทฺวารํ = นครทฺวารํ ฉ.ตัป.วิ. นครทฺวารสฺส ปาลโก = นครทฺวารปาลโก (ปุคฺคโล) คำว่า ปาลก ในคำว่า นครทฺวารปาลก มาจาก ปาล ธาตุ ในความรักษา + ณฺวุ ปัจจัย แปลง ณฺวุ เป็น อก ได้รูปเป็น ปาลก แปลว่า ผู้รักษา เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ วิ.ว่า ปาเลตีติ ปาลโก (ปุคฺคโล) บุคคลใด ย่อมรักษา เหตุนั้น บุคคลนั้น ชื่อว่า ปาลโกๆ ผู้รักษา

ศัพท์บาลี --->>นครปทกฺขิณ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. การปทักษิณซึ่งพระนคร แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นครปทกฺขิณํ ซึ่ง การปทักษิณซึ่งพระนคร เป็นทุติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นครํ ปทกฺขิณํ = นครปทกฺขิณํ

ศัพท์บาลี --->>นครปริคฺคาหิกา-->> คำแปล --->>ว.,อิต. (เทวตา) อ. เทวดา ท. ผู้ถือเอารอบซึ่งพระนคร เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นครสฺส ปริคฺคาหิกา = นครปริคฺคาหิกา (เทวตา) คำว่า ปริคฺคาหิกา ในคำว่า นครปริคฺ- คาหิกา มาจาก ปริ + คห ธาตุ ในความถือเอา + ณฺวุ ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณฺวุ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ซ้อน คฺ หน้าธาตุ แปลง ณฺวุ เป็น อก ลง อิ อาคม และ อา เครื่องหมายอิตถีลิงค์ ได้รูปเป็น ปริคฺคาหิกา แปลว่า ผู้ถือเอารอบ (ผู้รักษา) เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ วิ.ว่า ปริคฺคณฺหนฺตีติ ปริคฺคาหิกา (เทวตา) แจกเหมือน กญฺญา

ศัพท์บาลี --->>นครวาสี-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (ชน) ผู้อยู่ในพระนครโดยปกติ มาจาก นคร + วส ธาตุ ในความอยู่ + ณี ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณี ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อี ได้รูปเป็น นครวาสี แปลว่า ผู้อยู่ในพระนครโดยปกติ เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ ลงในอรรถแห่งตัสสีละ วิ.ว่า นคเร วสติ สีเลนาติ นครวาสี (ชโน) ชนใด ย่อมอยู่ ในพระนคร โดยปกติ เหตุนั้น ชนนั้น ชื่อว่า นครวาสีๆ ผู้อยู่ในพระนครโดยปกติ แจกเหมือน เสฏฺ

ศัพท์บาลี --->>นครวีถิ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ถนนในพระนคร แจกเหมือน รตฺติ เช่น ส.เอก. นครวีถิยํ ในถนนในพระนคร เป็นสัตตมีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นคเร วีถิ = นครวีถิ

ศัพท์บาลี --->>นคราภิมุขี-->> คำแปล --->>ว.,อิต. (ยกฺขินี) อ.นางยักษิณี ผู้มีหน้า เฉพาะต่อพระนคร เป็นฉัฏฐีภินนาธิกรณพหุพ พิหิสมาส วิ.ว่า นครสฺส อภิมุขํ ยสฺสา สา นคราภิมุขี (ยกฺขินี) หน้าเฉพาะ ต่อพระนคร ของนางยักษิณีใด (มีอยู่) นางยักษิณีนั้น ชื่อว่า นคราภิมุขีๆ ผู้มีหน้าเฉพาะต่อพระนคร [บท สมาสลง อี เครื่องหมายอิตถีลิงค์] แจกเหมือน นารี

ศัพท์บาลี --->>นคราภิมุโข-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (เถโร) อ. พระเถระ ผู้มีหน้า เฉพาะต่อพระนคร เป็นฉัฏฐีภินนาธิกรณพหุพ พิหิสมาส วิ.ว่า นครสฺส อภิมุขํ ยสฺส โส นคราภิมุโข (เถโร) หน้าเฉพาะ ต่อพระนคร ของพระเถระใด (มีอยู่) พระเถระนั้น ชื่อว่า นคราภิมุโขๆ ผู้มีหน้าเฉพาะต่อพระนคร แจก เหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>นครูปม-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (จิต) มีนครเป็นเครื่องเปรียบ แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นครูปมํ (จิตฺตํ) อ. จิต มีนครเป็นเครื่องเปรียบ เป็นฉัฏฐีตุลยา ธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นครํ อุปมา ยสฺส ตํ นครูปมํ (จิตฺตํ) นคร เป็นเครื่องเปรียบ ของจิตใด จิตนั้น ชื่อว่ามีนครเป็นเครื่องเปรียบ

ศัพท์บาลี --->>นครโสภินี-->> คำแปล --->>ว.,อิต. (อิตฺถี) อ. หญิง ผู้ยังพระนคร ให้งาม มาจาก นคร + สุภ ธาตุ ในความงาม + ณี ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณี ปัจจัย พฤทธิ อุ ต้นธาตุ เป็น โอ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อี อิต. แปลง อี เป็น อินี ได้รูปเป็น นครโสภินี แปลว่า ผู้ยังพระนคร ให้งาม เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ วิ.ว่า นครํ โสภาเปตีติ นครโสภินี (อิตฺถี) หญิงใด ยัง พระนคร ย่อมให้งาม เหตุนั้น หญิงนั้น ชื่อว่า นครโสภินีๆ ผู้ยังพระนครให้งาม

ศัพท์บาลี --->>นคฺค-->> คำแปล --->>ว. เปลือย ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป. เอก. นคฺโค (สมโณ) อ. สมณะ เปลือย

ศัพท์บาลี --->>นคฺคสมณ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สมณะเปลือย แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. นคฺคสมณา อ. สมณะเปลือย ท. เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นคฺคา สมณา = นคฺคสมณา

ศัพท์บาลี --->>นคเร-->> คำแปล --->>ดู นคร

ศัพท์บาลี --->>นงฺคลผาลาทิอุปกรณปูรานิ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (สกฏสตานิ) อ. ร้อยแห่งเกวียน ท. อันเต็มด้วยเครื่องอุปกรณ์ มีไถและผาลเป็นต้น เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีสมาหารทวันทวสมาส ฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพ พิหิสมาส และวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทวัน.วิ. นงฺคลญฺจ ผาโล จ = นงฺคลผาลํ [นงฺคล = ไถ นปุ., ผาล = ผาล ปุ.] ฉ.ตุล.วิ. นงฺคลผาลํ อาทิ เยสํ ตานิ นงฺคลผาลาทีนิ (อุปกรณานิ) วิ.บุพ. กัม.วิ. นงฺคลผาลาทีนิ อุปกรณานิ = นงฺคล- ผาลาทิอุปกรณานิ ฉ.ตัป.วิ. นงฺคลผาลาทิ- อุปกรณานํ ปูรานิ = นงฺคลผาลาทิอุปกรณ- ปูรานิ (สกฏสตานิ) แจกเหมือน กุล [ศัพท์ที่ อยู่หน้า ปูร ธาตุ แปลว่า “ด้วย” ให้ประกอบ เป็นฉัฏฐีวิภัตติ แล้วเรียกชื่อสมาสตามวิภัตติที่ ปรากฏในรูปวิเคราะห์]

ศัพท์บาลี --->>นงฺคุฏฺ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. หาง แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นงฺคุฏฺ ยังหาง เฉพาะปัญจมีวิภัตติ ฝ่ายเอก วจนะ ลง โต ปัจจัย เป็น นงฺคุฏฺโต บ้าง

ศัพท์บาลี --->>นจฺจนมยูร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นกยูงตัวรำแพน แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นจฺจนมยูโร อ. นกยูงตัวรำแพน เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นจฺจโน มยูโร = นจฺจนมยูโร

ศัพท์บาลี --->>นจฺจนฺต-->> คำแปล --->>ก. ฟ้อนอยู่ นต ธาตุ ในความฟ้อน + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย แปลง ต ที่สุด ธาตุ กับ ย ปัจจัย เป็น จฺจ ได้รูปเป็น นจฺจนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นจฺจนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เทวธีตโร อ.นางเทพธิดา ท.) ย่อมฟ้อน นต ธาตุ ในความฟ้อน + ย ปัจจัยใน กัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ แปลง ต กับ ย เป็น จฺจ สำเร็จรูปเป็น นจฺจนฺติ

ศัพท์บาลี --->>นจฺจสมชฺช-->> คำแปล --->>น.,ปุ. มหรสพในเพราะการฟ้อน แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. นจฺจสมชฺชา อ. มหรสพในเพราะการฟ้อน ท. เป็นสัตตมีตัปปุริส สมาส วิ.ว่า นจฺเจ สมชฺชา = นจฺจสมชฺชา

ศัพท์บาลี --->>นฏฺ-->> คำแปล --->>ก. ฉิบหายแล้ว, เสียแล้ว, หายแล้ว นส ธาตุ ในความฉิบหาย + ต ปัจจัย แปลง ต เป็น ฏฺ ลบ ส ที่สุดธาตุ ได้รูปเป็น นฏฺ ดู อกิลนฺต

ศัพท์บาลี --->>นฏฺโคณ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. โคตัวหายแล้ว แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นฏฺโคณํ ซึ่งโคตัวหายแล้ว เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นฏฺโ โคโณ = นฏฺโคโณ

ศัพท์บาลี --->>นตฺตุ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. หลาน แจกเหมือน ปิตุ เช่น ป.เอก. นตฺตา อ. หลาน

ศัพท์บาลี --->>นตฺถิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ปูโว อ. ขนม, ปูวา อ. ขนม ท.) ย่อม ไม่มี น บทหน้า + อส ธาตุ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ ลบ ส ที่สุดแห่ง อส ธาตุ แปลง ติ เป็น ตฺถิ เป็น น + อตฺถิ ลบสระหน้า คือ อ ที่ น สำเร็จรูปเป็น นตฺถิ [ข้อสังเกต นตฺถิ ใช้เป็นกิริยาคุมพากย์ของตัวประธานที่เป็น ประถมบุรุษทั้งฝ่ายเอกวจนะและพหุวจนะ]

ศัพท์บาลี --->>นตฺถิปูว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ขนมไม่มี แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นตฺถิปูโว อ. ขนมไม่มี คำว่า นตฺถิ ในคำว่า นตฺถิปูโว เป็นนิบาต ไม่ใช่อาขยาต เป็นชื่อของขนม เหมือน มิจฺฉาทิฏฺ เป็นชื่อของ ทิฏฐิ คำว่า มิจฺฉา เป็นนิบาต และอโหสิกรรม เป็นชื่อของกรรม คำว่า อโหสิ เป็นนิบาต ฉะนั้น ไม่ต้องตั้งเป็นสมาสอะไร [เทียบกับคำว่า อตฺถิภาโว ในหนังสือสัททนีติธาตุมาลา หน้า ๔๙๒]

ศัพท์บาลี --->>นตฺถุกมฺม-->> คำแปล --->>น.,นปุ. กรรมคืออันนัตถุ์ แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นตฺถุกมฺมํ อ. กรรมคืออันนัตถุ์ เป็นอวธารณบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นตฺถุ เอว กมฺมํ = นตฺถุกมฺมํ

ศัพท์บาลี --->>นทนฺต-->> คำแปล --->>ก. บันลืออยู่ นท ธาตุ ในความบันลือ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ได้รูปเป็น นทนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นทาเปตุกาม-->> คำแปล --->>ว. ผู้ประสงค์เพื่ออันให้บันลือ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นทาเปตุกาโม (สตฺถา) อ. พระศาสดา ผู้ทรงประสงค์เพื่ออันให้ บันลือ เป็นจตุตถีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นหาเปตุ กาโม = นทาเปตุกาโม (สตฺถา) [ลบนิคคหิต ที่บทหน้า]

ศัพท์บาลี --->>นทิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. บันลือแล้ว นท ธาตุ ในความบันลือ + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นทิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นทิสฺสติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น สารีปุตฺโต อ. พระสารีบุตร) จักบันลือ นท ธาตุ ในความบันลือ + อ ปัจจัยใน กัตตุวาจก + สฺสติ ภวิสสันติวิภัตติ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นทิสฺสติ

ศัพท์บาลี --->>นที-->> คำแปล --->>น.,อิต. แม่นํ้า แจกเหมือน นารี เช่น ทุ.พหุ. นทิโย ซึ่งแม่นํ้า ท.

ศัพท์บาลี --->>นทีจรกากชาตกํ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ซึ่งชาดกอันบัณฑิต กำหนดแล้วด้วยกาตัวเที่ยวไปในนํ้า เป็น ตติยาตัปปุริสสมาส มีสัตตมีตัปปุริสสมาส และ วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ตัป.วิ. นทิยํ จโร = นทีจโร (กาโก) วิ.บุพ.กัม.วิ. นทีจโร กาโก = นทีจรกาโก ต.ตัป.วิ. นทีจรกาเกน (สลฺลกฺขิตํ) ชาตกํ = นทีจรกากชาตกํ

ศัพท์บาลี --->>นทีตีร-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ฝั่งแห่งแม่นํ้า แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. นทีตีเร ใกล้ฝั่งแห่งแม่นํ้า เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นทิยา ตีรํ = นทีตีรํ

ศัพท์บาลี --->>นทีปเทส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ประเทศแห่งแม่นํ้า แจกเหมือน ปุรส เช่น ส.เอก. นทีปเทเส ในประเทศแห่งแม่นํ้า เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นทิยา ปเทโส = นทีปเทโส

ศัพท์บาลี --->>นทีมชฺฌ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ท่ามกลางแห่งแม่นํ้า แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นทีมชฺฌํ สู่ท่ามกลางแห่งแม่นํ้า เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นทิยา มชฺฌํ = นทีมชฺฌํ

ศัพท์บาลี --->>นนุ-->> คำแปล --->>นิ. มิใช่หรือ เป็นนิบาตบอกความถาม เช่น นนุ ภนฺเต เวชฺเชนมฺห ปวาริตา = ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. เรา ท. เป็นผู้อันหมอปวารณาแล้ว ย่อมเป็น มิใช่หรือ [ธ. ๑: จกฺขุปาลตฺเถรวตฺถุ หน้า ๙]

ศัพท์บาลี --->>นนฺท-->> คำแปล --->>๑ น.,ปุ. นันทะ,พระนันทะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นนฺโท อ. นันทะ, อ. พระนันทะ

ศัพท์บาลี --->>นนฺท-->> คำแปล --->>๒ ว.,ปุ. นันทะ (ชื่อของคนเลี้ยงโค) แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นนฺโท (โคปาลโก) อ. บุคคลผู้เลี้ยงซึ่งโค ชื่อว่านันทะ

ศัพท์บาลี --->>นนฺทกุมาร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นันทกุมาร แจกเหมือน ปุริส เช่น ฉ.เอก. นนฺทกุมารสฺส แห่งนันทกุมาร

ศัพท์บาลี --->>นนฺทติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ปุคฺคโล อ. บุคคล) ย่อมเพลิดเพลิน นนฺท ธาตุ ในความบันเทิง + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นนฺทติ

ศัพท์บาลี --->>นนฺทตฺเถรวตฺถุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งพระเถระ ชื่อว่านันทะ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. นนฺโท เถโร = นนฺทตฺเถโร [ซ้อน ตฺ] ฉ.ตัป.วิ. นนฺทตฺเถรสฺส วตฺถุ = นนฺทตฺเถรวตฺถุ แจกเหมือน วตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>นนฺทนฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. เป็นที่เพลิดเพลิน เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ.วิ. นนฺทติ เอตฺถาติ นนฺทนํ (านํ) เขา ย่อมเพลิดเพลิน ในที่นั่น เหตุนั้น ที่นั่น ชื่อว่า นนฺทนํๆ เป็นที่เพลิดเพลิน วิ.บุพ.กัม.วิ. นนฺทนํ านํ = นนฺทนฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ]

ศัพท์บาลี --->>นนฺทนวน-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (สวน) ชื่อว่านันทนวัน แจก เหมือน กุล เช่น ส.เอก. นนฺทนวเน (อาราม) ในสวนชื่อว่านันทนวัน

ศัพท์บาลี --->>นนฺทนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชนา อ. ชน ท.) ย่อมเพลิดเพลิน นนฺท ธาตุ ในความบันเทิง + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นนฺทนฺติ

ศัพท์บาลี --->>นนฺทมาณว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. มาณพชื่อว่านันทะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นนฺทมาณโว อ. มาณพชื่อว่า นันทะ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นนฺโท มาณโว = นนฺทมาณโว

ศัพท์บาลี --->>นนฺทมาตุ-->> คำแปล --->>น.,อิต. มารดาของนันทมาณพ แจก เหมือน มาตุ เช่น ป.เอก. นนฺทมาตา อ. มารดา ของนันทมาณพ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นนฺทสฺส มาตา = นนฺทมาตา

ศัพท์บาลี --->>นนฺทมาน-->> คำแปล --->>ก. เพลิดเพลินอยู่ นนฺท ธาตุ ในความ เพลิดเพลิน + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + มาน ปัจจัย ได้รูปเป็น นนฺทมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>นนฺทมูลกปพฺภาร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เงื้อมแห่งภูเขาชื่อว่า นันทมูลกะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นนฺทมูลกปพฺภารํ สู่เงื้อมแห่งภูเขาชื่อว่านันท มูลกะ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นนฺทมูลกสฺส ปพฺภาโร = นนฺทมูลกปพฺภาโร

ศัพท์บาลี --->>นนฺทโคปาลก-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (บุคคล) ผู้เลี้ยงซึ่งโคชื่อว่า นันทะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นนฺท- โคปาลโก (ปุคฺคโล) อ. บุคคล ผู้เลี้ยงซึ่งโคชื่อว่า นันทะ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นนฺโท โคปาลโก = นนฺทโคปาลโก (ปุคฺคโล)

ศัพท์บาลี --->>นนฺทโคปาลกวตฺถุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งบุคคล ผู้เลี้ยงซึ่งโคชื่อว่านันทะ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. นนฺโท โคปาลโก = นนฺทโคปาลโก ฉ.ตัป.วิ. นนฺทโคปาลกสฺส วตฺถุ = นนฺทโคปาลกวตฺถุ แจกเหมือน วตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>นภ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ท้องฟ้า แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นภํ อ. ท้องฟ้า

ศัพท์บาลี --->>นม-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความนอบน้อม แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นโม อ. ความนอบน้อม

ศัพท์บาลี --->>นมติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น จิตฺตํ อ. จิต) ย่อมน้อมไป นม ธาตุ ในความน้อมไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นมติ [สัททนีติ ธาตุมาลา หน้า ๓๖๐ กล่าวว่าเป็น นมุ ธาตุ ใน ความน้อม, ความคารวะ, ความนอบน้อม] ถ้าเป็น นมุ ธาตุ ลบ อุ ที่ นมุ ธาตุ สำเร็จรูปเป็น นมติ

ศัพท์บาลี --->>นมยนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชนา อ. ชน ท.) ยัง…ย่อมให้ น้อมไป นม ธาตุ ในความน้อมไป + ณย ปัจจัย ในเหตุกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ ย สำเร็จรูปเป็น นมยนฺติ

ศัพท์บาลี --->>นมสฺสิตพฺพ-->> คำแปล --->>ก. อัน…พึงนอบน้อม นมสฺส ธาตุ ในความนอบน้อม + ตพฺพ ปัจจัย ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น นมสฺสิตพฺพ ดู อชานิตพฺพ

ศัพท์บาลี --->>นมิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น จิตฺตํ อ. จิต) น้อมไปแล้ว นม ธาตุ ในความน้อมไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นมิ

ศัพท์บาลี --->>นมิต-->> คำแปล --->>ก. พับแล้ว นม ธาตุ ในความน้อมไป + ต ปัจจัย ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น นมิต ดู อกิลนฺต

ศัพท์บาลี --->>นมิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. พับแล้ว, งอแล้ว นม ธาตุ ในความ น้อมไป + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นมิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นย-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นัย แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. นเยน โดยนัย

ศัพท์บาลี --->>นยนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชนา อ. ชน ท.) ย่อมนำไป นี ธาตุ ในความนำไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ รัสสะ อี ที่ นี ธาตุ เป็น อิ วิการ อิ เป็น เอ แล้วแปลง เอ เป็น อย สำเร็จรูป เป็น นยนฺติ

ศัพท์บาลี --->>นยสต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ร้อยแห่งนัย ดู อตฺตภาวสต

ศัพท์บาลี --->>นยสหสฺส-->> คำแปล --->>น.,นปุ. พันแห่งนัย ดู อตฺตภาวสหสฺส

ศัพท์บาลี --->>นยิสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) จักนำไป นี ธาตุ ในความ นำไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติ วิภัตติ รัสสะ อี ที่ นี ธาตุ เป็น อิ วิการ อิ เป็น เอ แล้วแปลง เอ เป็น อย ลง อิ อาคม สำเร็จรูป เป็น นยิสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>นยึสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชนา อ. ชน ท.) นำไปแล้ว นี ธาตุ ในความนำไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ รัสสะ อี ที่ นี ธาตุ เป็น อิ วิการ อิ เป็น เอ แล้วแปลง เอ เป็น อย แปลง อุ เป็น อึสุ สำเร็จรูปเป็น นยึสุ

ศัพท์บาลี --->>นร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นระ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นโร อ. นระ

ศัพท์บาลี --->>นรทมฺมสารถิ-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (สตฺถา) อ. พระศาสดา ผู้ทรง ยังนระอันพระองค์พึงฝึกให้แล่นไป เป็น ทุติยาตัปปุริสสมาส มีวิเสสนุตตรบท กัมมธารย สมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.นุต.กัม.วิ. นโร ทมฺโม = นรทมฺโม ทุ.ตัป.วิ. นรทมฺมํ สารถิ = นรทมฺมสารถิ (สตฺถา)

ศัพท์บาลี --->>นรินฺท-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้เป็นจอมแห่งนระ แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก นรินฺเท (รญฺเญ) ในพระราชา ผู้เป็น จอมแห่งนระ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นรานํ อินฺโท = นรินฺโท (ราชา)

ศัพท์บาลี --->>นลาฏ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. หน้าผาก,พระนลาฏ แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. นลาเฏ ที่พระนลาฏ เฉพาะ ปัญจมีวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ ลง โต ปัจจัย เป็น นลาฏโต บ้าง

ศัพท์บาลี --->>นลาฏนฺต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ที่สุดแห่งพระนลาฏ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นลาฏนฺตํ ซึ่งที่สุดแห่งพระนลาฏ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นลาฏสฺส อนฺโต = นลาฏนฺโต

ศัพท์บาลี --->>นว-->> คำแปล --->>๑ ว. เก้า แจกเหมือน ปญฺจ ทั้ง ๓ ลิงค์แจก เหมือนกัน เป็นวิเสสนะของนามที่เป็นพหุวจนะ ได้ทั้ง ๓ ลิงค์ ปุ. เช่น ป. นว (ปุริสา) อ. บุรุษ ท. เก้า อิต. เช่น ป. นว (โกฏิโย) อ. โกฏิ ท. เก้า นปุ. เช่น ป. นว (โยชนานิ) อ. โยชน์ ท. เก้า

ศัพท์บาลี --->>นว-->> คำแปล --->>๒ ว. ใหม่ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นโว (ปาสาโท) อ. ปราสาท ใหม่ อิต. เช่น ป.เอก. นวา (วีชนี) อ. พัด อันใหม่ นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นวํ (ภาชนํ) อ. ภาชนะ อันใหม่

ศัพท์บาลี --->>นวก-->> คำแปล --->>ว. ใหม่ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นวโก (ภิกฺขุ) อ. ภิกษุ ผู้ใหม่ ดู นว ๒

ศัพท์บาลี --->>นวกนิปาต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นวกนิบาต แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. นวกนิปาเต ในนวกนิบาต

ศัพท์บาลี --->>นวกภาว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความที่แห่ง…เป็นผู้ใหม่ แจก เหมือน ปุริส ทุ.เอก. นวกภาวํ ซึ่งความที่แห่ง… เป็นผู้ใหม่ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นวกสฺส ภาโว = นวกภาโว

ศัพท์บาลี --->>นวกมฺม-->> คำแปล --->>น.,นปุ. นวกรรม แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นวกมฺมํ ซึ่งนวกรรม

ศัพท์บาลี --->>นวกมฺมิก-->> คำแปล --->>ว. ผู้กระทำซึ่งนวกรรม ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ฉ.เอก. นวกมฺมิกสฺส (ภิกฺขุโน) ของ ภิกษุ ผู้กระทำซึ่งนวกรรม มาจาก นวกมฺม ศัพท์ + ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต ใช้แทน กโรติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อิก ได้รูปเป็น นวกมฺมิก วิ.ว่า นวกมฺมํ กโรตีติ นวกมฺมิโก (ภิกฺขุ) ภิกษุใด ย่อมกระทำ ซึ่งนวกรรม เหตุนั้น ภิกษุนั้น ชื่อว่า นวกมฺมิโกๆ ผู้กระทำซึ่งนวกรรม

ศัพท์บาลี --->>นวทฺวาร-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (สรีรยนฺตํ) อ. ยนต์คือสรีระ อันมี ทวารเก้า เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นว ทฺวารานิ ยสฺส ตํ นวทฺวารํ (สรีรยนฺตํ) ทวาร ท. ของยนต์คือสรีระใด เก้า ยนต์คือสรีระนั้น ชื่อว่าอันมีทวารเก้า แจกเหมือน กุล

ศัพท์บาลี --->>นวปพฺพชิต-->> คำแปล --->>ว. ผู้บวชแล้วใหม่ นว + ป + วช ธาตุ ในความเว้น + ต ปัจจัย แปลง ว แห่ง วช ธาตุ เป็น พ ซ้อน พฺ หน้า พ ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น นวปพฺพชิต ดู อกิลนฺต

ศัพท์บาลี --->>นวปฺปาสาท-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ปราสาทใหม่ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ. เอก. นวปฺปาสาทํ ซึ่งปราสาทใหม่ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นโว ปาสาโท = นวปฺปาสาโท [ซ้อน ปฺ]

ศัพท์บาลี --->>นวภาชน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ภาชนะอันใหม่ แจกเหมือน กุล เช่น ส.พหุ. นวภาชเนสุ ในภาชนะอันใหม่ ท. เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นวานิ ภาชนานิ = นวภาชนานิ

ศัพท์บาลี --->>นวมธุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. นํ้าผึ้งใหม่ แจกเหมือน วตฺถุ เช่น ฉ.เอก. นวมธุโน แห่งนํ้าผึ้งใหม่ เป็นวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นวํ มธุ = นวมธุ

ศัพท์บาลี --->>นววุฏฺ-->> คำแปล --->>ว. (อันฝน) ตกแล้วใหม่ นว + วสฺส ธาตุ ในความรด, ความราด, ความโปรย, ความตก + ต ปัจจัย ธาตุมี ส เป็นที่สุดอยู่หน้า แปลง ต เป็น ฏฺ ลบ สฺส ที่สุดธาตุ เป็น นวว + ฏฺ แปลง อ ที่ ว เป็น อุ ได้รูปเป็น นววุฏฺ ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>นวสปฺปิ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. เนยใสใหม่ แจกเหมือน อกฺขิ เช่น ต.เอก. นวสปฺปินา ด้วยเนยใสใหม่ เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นวํ สปฺปิ = นวสปฺปิ

ศัพท์บาลี --->>นวสปฺปิสงฺขตขีรยาคุ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ซึ่งข้าวยาคูอันเจือ แล้วด้วยนํ้านมอันบุคคลปรุงแล้วด้วยเนยใส ใหม่ เป็นตติยาตัปปุริสสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส ตติยาตัปปุริสสมาส และวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. นว สปฺปิ = นวสปฺปิ ต.ตัป.วิ. นวสปฺปินา สงฺขตํ = นวสปฺปิสงฺขตํ (ขีรํ) วิ.บุพ.กัม.วิ. นวสปฺปิสงฺขตํ ขีรํ = นวสปฺปิสงฺขต ขีรํ ต.ตัป.วิ. นวสปฺปิสงฺขตขีเรน (สํสฏฺา) ยาคุ = นวสปฺปิสงฺขตขีรยาคุ แจกเหมือน รชฺชุ

ศัพท์บาลี --->>นวุติวสฺสสหสฺสปริมาณ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (อายุ) อันมีพัน แห่งปีเก้าสิบเป็นประมาณ แจกเหมือน วตฺถุ เช่น ฉ.เอก. นวุติวสฺสสหสฺสปริมาณสฺส (อายุโน) แห่งอายุ มีพันแห่งปีเก้าสิบเป็นประมาณ เป็น ฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริส สมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. วสฺสานํ สหสฺสานิ = วสฺสสหสฺสานิ พันแห่งปี ท. ส.ทิคุ.วิ. นวุติ วสฺสสหสฺสานิ = นวุติวสฺสสหสฺสํ พันแห่งปีเก้าสิบ ฉ.ตุล.วิ. นวุติวสฺสสหสฺสํ ปริมาณํ ยสฺส ตํ นวุติวสฺส- สหสฺสปริมาณํ (อายุ) พันแห่งปีเก้าสิบ เป็น ประมาณ ของอายุใด อายุนั้น ชื่อว่ามีพันแห่งปี เก้าสิบเป็นประมาณ

ศัพท์บาลี --->>นวุติสหสฺส-->> คำแปล --->>ว. มีพันเก้าสิบ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น จ.พหุ. นวุติสหสฺสานํ (ภิกฺขูนํ) แก่ภิกษุ ท. ผู้มีพันเก้าสิบ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส วิ.ว่า นวุติ สหสฺสานิ เยสํ เต นวุติสหสฺสา (ภิกฺขู) พัน ท. ของภิกษุ ท. เหล่าใด เก้าสิบ ภิกษุ ท. เหล่านั้น ชื่อว่าผู้มีพันเก้าสิบ

ศัพท์บาลี --->>นวโกฏิ-->> คำแปล --->>น.,อิต. โกฏิเก้า ถ้าเป็นนปุงสกลิงค์ ฝ่าย เอกวจนะ เป็นสมาหารทิคุสมาส เช่น ทุ.เอก. นวโกฏึ วิ.ว่า นว โกฏิโย = นวโกฏิ แต่ถ้าเป็นฝ่าย พหุวจนะ เป็นอสมาหารทิคุสมาส เช่น ทุ.พหุ. นวโกฏิโย ซึ่งโกฏิเก้า ท. วิ.ว่า นว โกฏิโย = นวโกฏิโย

ศัพท์บาลี --->>นวโกฏิอคฺฆนกํ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (ปสาธนํ) อ. เครื่องประดับ มีราคามีโกฏิเก้า เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. นว โกฏิโย ยสฺส ตํ นวโกฏิ (อคฺฆนกํ) โกฏิ ท. ของราคาใด เก้า ราคานั้น ชื่อว่ามีโกฏิเก้า ฉ.ตุล. วิ. นวโกฏิ อคฺฆนกํ ยสฺส ตํ นวโกฏิอคฺฆนกํ (ปสาธนํ) ราคา ของเครื่องประดับใด มีโกฏิเก้า เครื่องประดับนั้น ชื่อว่ามีราคามีโกฏิเก้า แจก เหมือน กุล

ศัพท์บาลี --->>นวโยชน-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (ที่) มีโยชน์เก้า แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นวโยชนํ (านํ) สิ้นที่ มีโยชน์เก้า เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นว โยชนานิ ยสฺส ตํ นวโยชนํ (านํ) โยชน์ ท. ของที่ใด เก้า ที่นั้น ชื่อว่ามีโยชน์เก้า

ศัพท์บาลี --->>นสฺส-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จงฉิบหาย นส ธาตุ ในความ ฉิบหาย + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ แปลง ส กับ ย เป็น สฺส ลบ หิ สำเร็จรูปเป็น นสฺส

ศัพท์บาลี --->>นสฺสติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น สสฺสํ อ. ข้าวกล้า) ย่อมฉิบหาย นส ธาตุ ในความฉิบหาย + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ แปลง ส กับ ย เป็น สฺส สำเร็จรูปเป็น นสฺสติ

ศัพท์บาลี --->>นสฺสนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น วตฺถานิ อ. ผ้า ท.) จะเสียหาย นส ธาตุ ในความฉิบหาย + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ แปลง ส กับ ย เป็น สฺส สำเร็จรูปเป็น นสฺสนฺติ

ศัพท์บาลี --->>นสฺสนฺตุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น จกฺขูนิ อ. จักษุ ท.) จงฉิบหาย นส ธาตุ ในความฉิบหาย + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺตุ ปัญจมีวิภัตติ แปลง ส กับ ย เป็น สฺส สำเร็จรูปเป็น นสฺสนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) จะฉิบหาย นส ธาตุ ใน ความฉิบหาย + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + มิ วัตตมานาวิภัตติ แปลง ส กับ ย เป็น สฺส มิ อยู่หลัง ทีฆะ อ ที่สุดธาตุ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น นสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>นสฺสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น สตฺโต อ. สัตว์) ฉิบหายแล้ว นส ธาตุ ในความฉิบหาย + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง ส กับ ย เป็น สฺส รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นสฺสิ

ศัพท์บาลี --->>นสฺสิสฺสติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ธนํ อ. ทรัพย์) จักฉิบหาย นส ธาตุ ในความฉิบหาย + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสติ ภวิสสันติวิภัตติ แปลง ส กับ ย เป็น สฺส ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นสฺสิสฺสติ

ศัพท์บาลี --->>นหาตฺวา-->> คำแปล --->>ก. อาบแล้ว, สนานแล้ว นหา ธาตุ ใน ความอาบ + ตฺวา ปัจจัย สำเร็จรูปเป็น นหาตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นหานจุณฺณมูลก-->> คำแปล --->>ว. อันเป็นค่าแห่งจุณเป็น เครื่องอาบ นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นหานจุณฺณมูลกํ (จตุปฺปญฺญาสโกฏิธนํ) ซึ่ง ทรัพย์อันมีโกฏิห้าสิบสี่ อันเป็นค่าแห่งจุณ เป็นเครื่องอาบ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. นหานํ จุณฺณํ = นหานจุณฺณํ ฉ.ตัป.วิ. นหานจุณฺณสฺส มูลกํ = นหานจุณฺณมูลกํ (จตุปฺปญฺญาสโกฏิธนํ)

ศัพท์บาลี --->>นหานติตฺถ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ท่าเป็นที่อาบ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นหานติตฺถํ สู่ท่าเป็นที่อาบ เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ.วิ. นหายติ เอตฺถาติ นหานํ (ติตฺถํ) เขา ย่อมอาบ ที่ท่านั่น เหตุนั้น ท่านั่น ชื่อว่า นหานํๆ เป็นที่อาบ วิ.บุพ.กัม.วิ. นหานํ ติตฺถํ = นหานติตฺถํ

ศัพท์บาลี --->>นหานตฺถ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ประโยชน์แก่อันอาบ แจกเหมือน ปุริส เช่น จ.เอก. นหานตฺถาย เพื่อประโยชน์แก่ อันอาบ เป็นจตุตถีตัปปุริสสมาส มี ยุ ปัจจัย ภาวรูป ภาวสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตาม ลำดับ ดังนี้ ยุ.ภาว.ภาว. วิ. นหานํ = นหานํ จตุ.ตัป.วิ. นหานสฺส อตฺโถ = นหานตฺโถ

ศัพท์บาลี --->>นหานปริโยสาน-->> คำแปล --->>น.,ปุ. (กาล) อันเป็นที่สุดลง รอบแห่งการสรง ดู อนุโมทนาปริโยสาน

ศัพท์บาลี --->>นหานเวลา-->> คำแปล --->>น.,อิต. เวลาเป็นที่อาบ แจก เหมือน กญฺญา เช่น ส.เอก. นหานเวลาย ใน เวลาเป็นที่อาบ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมม ธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ.วิ. นหายติ เอตฺถาติ นหานา (เวลา) วิ.บุพ.กัม.วิ. นหานา เวลา = นหานเวลา

ศัพท์บาลี --->>นหาปิต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ช่างกัลบก,นายภูษามาลา แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นหาปิโต อ. ช่างกัลบก, อ. นายภูษามาลา

ศัพท์บาลี --->>นหายติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น สตฺถา อ. พระศาสดา) ย่อม ทรงสรง นหา ธาตุ ในความอาบ + ย ปัจจัยใน กัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นหายติ

ศัพท์บาลี --->>นหายถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.,อ.พระองค์) ขอจง ทรงสนาน, ขอจงสรง นหา ธาตุ ในความอาบ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ถ ปัญจมีวิภัตติ สำเร็จรูป เป็น นหายถ

ศัพท์บาลี --->>นหายนฺต-->> คำแปล --->>ก. สรงอยู่ นหา ธาตุ ในความอาบ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ได้รูปเป็น นหายนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นหายนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น กุลธีตโร อ. นางกุลธิดา ท.) ย่อมอาบ นหา ธาตุ ในความอาบ + ย ปัจจัย ในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูป เป็น นหายนฺติ

ศัพท์บาลี --->>นหายิตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันอาบ, เพื่ออันอาบ นหา ธาตุ ในความอาบ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น นหายิตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นหายิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. อาบแล้ว นหา ธาตุ ในความอาบ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นหายิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นหายิสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) จักอาบ นหา ธาตุ ในความอาบ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นหายิสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>นหาเปตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้อาบแล้ว นหา ธาตุ ใน ความอาบ + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น นหาเปตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นหาเปนฺต-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้อาบอยู่ นหา ธาตุ ใน ความอาบ + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป ได้รูปเป็น นหาเปนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นหาเปสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น สตฺถา อ. พระศาสดา) ยัง… ให้สรงแล้ว นหา ธาตุ ในความอาบ + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นหาเปสิ

ศัพท์บาลี --->>นหาเปหิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) ยัง…จงให้อาบ นหา ธาตุ ในความอาบ + ณาเป ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น นหาเปหิ

ศัพท์บาลี --->>นหาโนทก-->> คำแปล --->>น.,นปุ. นํ้าเป็นเครื่องอาบ แจก เหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นหาโนทกํ ซึ่งนํ้าเป็น เครื่องอาบ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป กรณสาธนะ เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.กรณ.วิ. นหายติ เตนาติ นหานํ (อุทกํ) วิ.บุพ.กัม.วิ. นหานํ อุทกํ = นหาโนทกํ

ศัพท์บาลี --->>นหุต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. นหุต แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นหุตํ ยังนหุต [๑ นหุต = ๑ หมื่น]

ศัพท์บาลี --->>นฬ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ไม้อ้อ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นโฬ อ. ไม้อ้อ

ศัพท์บาลี --->>นฬการเชฏฺก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นายช่างสานผู้เจริญที่สุด แจกเหมือน ปุริส เช่น จ.เอก. นฬการเชฏฺกสฺส แก่นายช่างสานผู้เจริญที่สุด เป็นวิเสสนุตตรบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นฬกาโร เชฏฺโก = นฬการเชฏฺโก

ศัพท์บาลี --->>นาค-->> คำแปล --->>๑ น.,ปุ. ช้างตัวประเสริฐ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นาโค อ. ช้างตัวประเสริฐ

ศัพท์บาลี --->>นาค-->> คำแปล --->>๒ น.,ปุ. นาค แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. นาคา อ. นาค ท.

ศัพท์บาลี --->>นาคภวน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ภพแห่งนาค แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นาคภวนํ อ. ภพแห่งนาค เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นาคสฺส ภวนํ = นาคภวนํ

ศัพท์บาลี --->>นาคร-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้อยู่ในพระนคร มาจาก นคร ศัพท์ + ณ ปัจจัยในราคาทิตัทธิต ใช้แทน วสนฺติ ด้วย อำนาจ ณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นศัพท์เป็น อา ลบ ณ ได้รูปเป็น นาคร แปลว่า ผู้อยู่ในพระนคร แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. นาครา (ชนา) อ. ชน ท. ผู้อยู่ในพระนคร วิ.ว่า นคเร วสนฺตีติ นาครา (ชนา) ชน ท. เหล่าใด ย่อมอยู่ ในพระนคร เหตุนั้น ชน ท. เหล่านั้น ชื่อว่า นาคราๆ ผู้อยู่ในพระนคร

ศัพท์บาลี --->>นาคราช-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นาคผู้พระราชา แจกเหมือน มหาราช เช่น ป.เอก. นาคราชา อ. นาคผู้พระราชา เป็นวิเสสนุตตรบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นาโค ราชา = นาคราชา

ศัพท์บาลี --->>นาคลตาทนฺตกฏฺ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ไม้เป็นเครื่องชำระ ซึ่งฟันชื่อว่านาคลดา แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นาคลตาทนฺตกฏฺ ซึ่งไม้เป็นเครื่อง ชำระซึ่งฟันชื่อว่านาคลดา เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. ทนฺตานํ (โสธนํ) กฏฺ = ทนฺตกฏฺ วิ.บุพ.กัม.วิ. นาคลตา ทนฺตกฏฺ = นาคลตาทนฺตกฏฺ

ศัพท์บาลี --->>นาควคฺค-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นาควรรค แจกเหมือน ปุริส ส.เอก. นาควคฺเค ในนาควรรค

ศัพท์บาลี --->>นาคสุปณฺณา-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อ. นาคและครุฑ ท. เป็น อสมาหารทวันทวสมาส แจกเหมือน ปุริส เฉพาะ ฝ่ายพหุวจนะ วิ.ว่า นาโค จ สุปณฺโณ จ = นาคสุปณฺณา นาคด้วย ครุฑด้วย ชื่อว่านาค และครุฑ ท.

ศัพท์บาลี --->>นาคาทโย-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (อมนุสฺสา) อ. อมนุษย์ ท. มีนาค เป็นต้น เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นาโค อาทิ เยสํ เต นาคาทโย (อมนุสฺสา) นาค เป็นต้น ของอมนุษย์ ท. เหล่าใด อมนุษย์ ท. เหล่านั้น ชื่อว่ามีนาคเป็นต้น

ศัพท์บาลี --->>นาคเสนตฺเถร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระเถระชื่อว่านาคเสน แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. นาคเสนตฺเถเรน อันพระเถระชื่อว่านาคเสน เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นาคเสโน เถโร = นาคเสนตฺเถโร [ซ้อน ตฺ]

ศัพท์บาลี --->>นาฏกิตฺถี-->> คำแปล --->>น.,อิต. หญิงนักฟ้อน แจกเหมือน นารี เช่น ป.พหุ. นาฏกิตฺถิโย อ. หญิงนักฟ้อน ท. เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นาฏกา อิตฺถิโย = นาฏกิตฺถิโย

ศัพท์บาลี --->>นานคฺครส-->> คำแปล --->>๑ ว.,นปุ. (โภชนะ) อันมีรสอันเลิศ ต่างๆ แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นานคฺครสํ (โภชนํ) อ. โภชนะ อันมีรสอันเลิศต่างๆ ลง ณ ปัจจัยในตทัสสัตถิตัทธิต มีวิเสสนบุพพบท กัมม ธารยสมาส และวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม. วิ. อคฺโค รโส = อคฺครโส รสอันเลิศ วิ.บุพ.กัม.วิ. นานา อคฺครโส = นานคฺครโส รสอันเลิศต่างๆ ณ.ตทัส.วิ. นานคฺครโส อสฺส อตฺถีติ นานคฺครสํ (โภชนํ) รสอันเลิศต่างๆ ของโภชนะนั้น มีอยู่ เหตุนั้น โภชนะนั้น ชื่อว่าอันมีรสเลิศต่างๆ

ศัพท์บาลี --->>นานคฺครส-->> คำแปล --->>๒ น.,ปุ. รสอันเลิศต่างๆ แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.พหุ. นานคฺครเสหิ ด้วยรสอันเลิศ ต่างๆ ท. เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. อคฺคา รสา = อคฺครสา รสอันเลิศ ท. วิ.บุพ.กัม.วิ. นานา อคฺครสา = นานคฺครสา รสอันเลิศต่างๆ ท.

ศัพท์บาลี --->>นานคฺครสโภชน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. โภชนะอันมีรสอันเลิศ ต่างๆ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นานคฺครส- โภชนํ ซึ่งโภชนะอันมีรสอันเลิศต่างๆ เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส วิเสสนบุพพบท กัมม ธารยสมาส และ ณ ตทัสสัตถิตัทธิต เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. อคฺโค รโส = อคฺครโส รสอันเลิศ วิ.บุพ.กัม.วิ. นานา อคฺครโส = นานคฺครโส รสอันเลิศต่างๆ ณ.ตทัส. วิ. นานคฺครโส อสฺส อตฺถีติ นานคฺครสํ (โภชนํ) รสอันเลิศต่างๆ ของโภชนะนั้น มีอยู่ เหตุนั้น โภชนะนั้น ชื่อว่า อันมีรสเลิศต่างๆ วิ.บุพ.กัม.วิ. นานคฺครสํ โภชนํ = นานคฺครสโภชนํ โภชนะ อันมีรสอันเลิศต่างๆ

ศัพท์บาลี --->>นานปฺปการ-->> คำแปล --->>๑ ว. มีประการต่างๆ นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นานปฺปการํ (วตฺถุ) ซึ่งวัตถุ อันมีประการต่างๆ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส วิ.ว่า นานา ปกาโร ยสฺส ตํ นานปฺปการํ (วตฺถุ) ประการ ของวัตถุใด ต่างๆ วัตถุนั้น ชื่อว่า อันมีประการต่างๆ

ศัพท์บาลี --->>นานปฺปการ-->> คำแปล --->>๒ น.,ปุ. ประการต่างๆ แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. นานปฺปกาเรน โดยประการ ต่างๆ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นานา ปกาโร = นานปฺปกาโร [ลบ อา ที่ นานา ซ้อน ปฺ]

ศัพท์บาลี --->>นานปฺปการก-->> คำแปล --->>ว. มีประการต่างๆ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นานปฺปการโก (สลฺลาโป) อ. การเจรจา มีประการต่างๆ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณ พหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นานา ปกาโร ยสฺส โส นานปฺปการโก (สลฺลาโป) ประการ ของการ เจรจาใด ต่างๆ การเจรจานั้น ชื่อว่าอันมีประการ ต่างๆ [ซ้อน ปฺ และลง ก สกัด]

ศัพท์บาลี --->>นานา-->> คำแปล --->>นิ. ต่างๆ เป็นนิบาตมีเนื้อความต่างๆ เช่น ป.เอก. นานา (ปุปฺผํ) อ. ดอกไม้ ต่างๆ

ศัพท์บาลี --->>นานาคจฺฉ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กอผักต่างๆ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.พหุ. นานาคจฺเฉ ซึ่งกอผักต่างๆ ท. เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นานา คจฺฉา = นานาคจฺฉา

ศัพท์บาลี --->>นานาปุปฺผ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ดอกไม้ต่างๆ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นานาปุปฺผํ ยังดอกไม้ต่างๆ เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นานา ปุปฺผํ = นานาปุปฺผํ

ศัพท์บาลี --->>นานาปุปฺผผลปฏิมณฺฑิเต-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (ปเทเส) ซึ่ง ประเทศ ท. อันประดับเฉพาะแล้วด้วยดอกไม้ และผลไม้ต่างๆ เป็นตติยาตัปปุริสสมาส มี อสมาหารทวันทวสมาส และวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตาม ลำดับ ดังนี้ อ.ทวัน.วิ. ปุปฺผญฺจ ผลญฺจ = ปุปฺผผลานิ วิ.บุพ.กัม.วิ. นานา ปุปฺผผลานิ = นานาปุปฺผผลานิ ต.ตัป.วิ. นานาปุปฺผผเลหิ ปฏิมณฺฑิตา = นานาปุปฺผผลปฏิมณฺฑิตา (ปเทสา) วิ.บุพ.กัม.วิ. นานาปุปฺผผลปฏิมณฺฑิตา ปเทสา = นานาปุปฺผผลปฏิมณฺฑิตปเทสา

ศัพท์บาลี --->>นานาผล-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ผลไม้ต่างๆ ดู นานาปุปฺผ

ศัพท์บาลี --->>นานาภณฺฑ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ภัณฑะต่างๆ ดู นานาปุปฺผ

ศัพท์บาลี --->>นานาภรณปฺปฏิมณฺฑิตา-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (ชนา) อ. ชน ท. ผู้ประดับเฉพาะแล้วด้วยอาภรณ์ต่างๆ เป็น ตติยาตัปปุริสสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารย สมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. นานา อาภรณานิ = นานาภรณานิ ต.ตัป.วิ. นานาภรเณหิ ปฏิมณฺฑิตา = นานา ภรณปฺปฏิมณฺฑิตา (ชนา) [ซ้อน ปฺ]

ศัพท์บาลี --->>นานาวิธ-->> คำแปล --->>ว. อันมีอย่างต่างๆ อิต. ลง อา เครื่องหมายอิตถีลิงค์ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.เอก. นานาวิธํ (ยาคุ) ยังข้าวต้ม อันมีอย่าง ต่างๆ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นานา วิโธ ยสฺสา สา นานาวิธา (ยาคุ)อย่าง ของข้าวต้มใด ต่างๆ ข้าวต้มนั้น ชื่อว่ามี อย่างต่างๆ

ศัพท์บาลี --->>นานาสมาปตฺติ-->> คำแปล --->>น.,อิต. สมาบัติต่างๆ แจกเหมือน รตฺติ เช่น ต.พหุ. นานาสมาปตฺตีหิ ด้วยสมาบัติ ต่างๆ ท. เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่ นานา สมาปตฺติโย = นานาสมาปตฺติโย

ศัพท์บาลี --->>นาภิปฺปมาเณ-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (อาวาเฏ) ซึ่งหลุม ท. อันมี สะดือเป็นประมาณ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพ พิหิสมาส วิ.ว่า นาภี ปมาณา เยสํ เต นาภิปฺ ปมาณา (อาวาฏา) สะดือ เป็นประมาณ ของ หลุม ท. เหล่าใด หลุม ท. เหล่านั้น ชื่อว่าอันมี สะดือเป็นประมาณ แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>นาภี-->> คำแปล --->>น.,อิต. ดุม, สะดือ แจกเหมือน นารี เช่น ป.เอก. นาภี อ.ดุม, สะดือ เฉพาะปัญจมีวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ ลง โต ปัจจัย เป็น นาภิโต บ้าง

ศัพท์บาลี --->>นาม-->> คำแปล --->>น.,นปุ. นาม, ชื่อ แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นามํ อ. ชื่อ

ศัพท์บาลี --->>นามกรณทิวส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. วันเป็นที่กระทำซึ่งชื่อ แจก เหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. นามกรณทิวเส ในวัน เป็นที่กระทำซึ่งชื่อ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารย สมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ.วิ. นามํ กโรติ เอตฺถาติ นามกรโณ (ทิวโส) วิ.บุพ. กัม.วิ. นามกรโณ ทิวโส = นามกรณทิวโส

ศัพท์บาลี --->>นามกรณมงฺคล-->> คำแปล --->>น.,นปุ. มงคลในเพราะการ กระทำซึ่งชื่อ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นามกรณมงฺคลํ ซึ่งมงคลในเพราะการกระทำ ซึ่งชื่อ เป็นสัตตมีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐัตัปปุริส สมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.ว่า นามสฺส กรณํ = นามกรณํ ส.ตัป.วิ. นามกรเณ มงฺคลํ = นามกรณมงฺคลํ

ศัพท์บาลี --->>นามคฺคหณทิวส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. วันเป็นที่ถือเอาซึ่งชื่อ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ.วิ. นามํ กโรติ เอตฺถาติ นามคฺคหโณ (ทิวโส) [ซ้อน คฺ] วิ.บุพ. กัม.วิ. นามคฺคหโณ ทิวโส = นามคฺคหณทิวโส

ศัพท์บาลี --->>นามโคตฺตวส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สามารถแห่งนามและโคตร แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. นามโคตฺตวเสน ด้วยสามารถแห่งนามและโคตร เป็นฉัฏฐีตัปปุริส สมาส มีสมาหารทวันทวสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทวัน.วิ. นามญฺจ โคตฺตญฺจ = นามโคตฺตํ ฉ.ตัป.วิ. นามโคตฺตสฺส วโส = นามโคตฺตวโส

ศัพท์บาลี --->>นารท-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. นารทะ (พระนามของพระพุทธเจ้า, ชื่อของอำมาตย์, ชื่อของดาบส) แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นารโท (พุทฺโธ) อ. พระพุทธเจ้า พระนามว่านารทะ, นารโท (อมจฺโจ) อ. อำมาตย์ ชื่อว่านารทะ, นารโท (ตาปโส) อ. ดาบสชื่อว่า นารทะ

ศัพท์บาลี --->>นารทามจฺจปฺปมุเข-->> คำแปล --->>ว.ปุ. (อมจฺเจ) ซึ่งอำมาตย์ ท. ผู้มีอำมาตย์ชื่อว่านารทะเป็นประมุข เป็น ฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. นารโท อมจฺโจ = นารทามจฺโจ ฉ.ตุล.วิ. นารทามจฺโจ ปมุขํ เยสํ เต นารทามจฺจปฺปมุขา (อมจฺจา) อำมาตย์ชื่อ ว่านารทะ เป็นประมุข ของอำมาตย์ ท. เหล่าใด อำมาตย์ ท. เหล่านั้น ชื่อว่าผู้มีอำมาตย์ชื่อว่า นารทะเป็นประมุข [ซ้อน ปฺ]

ศัพท์บาลี --->>นารี-->> คำแปล --->>น.,อิต. นารี เป็นศัพท์ต้นแบบในการแจกของ อี การันต์ในอิตถีลิงค์ เช่น ป.เอก. นารี อ. นารี พหุ. นาริโย อ. นารี ท.

ศัพท์บาลี --->>นาวา-->> คำแปล --->>น.,อิต. เรือ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. นาวา อ. เรือ

ศัพท์บาลี --->>นาวาทีนิ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (วาหนานิ) อ. พาหนะ ท. มีเรือ เป็นต้น เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นาวา อาทิ เยสํ ตานิ นาวาทีนิ (วาหนานิ) เรือ เป็นต้น ของพาหนะ ท. เหล่าใด พาหนะ ท. เหล่านั้น ชื่อว่ามีเรือเป็นต้น

ศัพท์บาลี --->>นาสยิ-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้ฉิบหายแล้ว นส ธาตุ ในความ ฉิบหาย + ณย ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ด้วยอำนาจ ณย ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ ย รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นาสยิ ประถมบุรุษ เช่น (ปุตฺโต) นาสยิ = อ. บุตร ยัง…ให้ฉิบหายแล้ว มัธยมบุรุษ ตฺวํ นาสยิ = อ. ท่าน ยัง….ให้ฉิบหาย แล้ว ดู อกริ

ศัพท์บาลี --->>นาสยิตฺถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) ยัง...ให้ฉิบหาย แล้ว นส ธาตุ ในความฉิบหาย + ณย ปัจจัยใน เหตุกัตตุวาจก + ตฺถ อัชชัตตนีวิภัตติ ด้วยอำนาจ ณย ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือ ไว้แต่ ย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นาสยิตฺถ

ศัพท์บาลี --->>นาสา-->> คำแปล --->>น.,อิต. จมูก แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. นาสา อ. จมูก

ศัพท์บาลี --->>นาสิต-->> คำแปล --->>ก. อัน…ให้ฉิบหายแล้ว นส ธาตุ ในความ ฉิบหาย + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ต ปัจจัย เป็นเหตุกัมมวาจก ลง อิ อาคม ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ เป็น นาเส + อิ อาคม + ต ปัจจัย ลบสระหน้า คือ เอ ที่ นาเส ได้รูปเป็น นาสิต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>นาฬาคิริ-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. นาฬาคิรี (ชื่อของช้าง) แจกเหมือน มุนิ เช่น ป.เอก. นาฬาคิริ (หตฺถี) อ. ช้าง ชื่อว่า นาฬาคิรี

ศัพท์บาลี --->>นาฬาคิริหตฺถี-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ช้างชื่อว่านาฬาคิรี แจก เหมือน เสฏฺ เช่น ฉ.เอก. นาฬาคิริหตฺถิโน แห่งช้างชื่อว่านาฬาคิรี เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นาฬาคิริ หตฺถี = นาฬาคิริหตฺถี

ศัพท์บาลี --->>นาฬิ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ทะนาน แจกเหมือน รตฺติ เช่น ป.พหุ. นาฬิโย อ. ทะนาน ท.

ศัพท์บาลี --->>นาฬิมตฺต-->> คำแปล --->>ว. อันมีทะนานเป็นประมาณ อิต. ลง อา เครื่องหมายอิตถีลิงค์ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.พหุ. นาฬิมตฺตา (อชลณฺฑิกา) ซึ่งมูลแห่งแพะ ท. อันมีทะนานเป็นประมาณ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิ กรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นาฬิ มตฺตา ยาสํ ตา นาฬิมตฺตา (อชลณฺฑิกา) ทะนาน เป็นประมาณ ของมูลแห่งแพะ ท. เหล่าใด มูลแห่งแพะ ท. เหล่านั้น ชื่อว่าอันมีทะนานเป็นประมาณ

ศัพท์บาลี --->>นาฬิโกทน-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ข้าวสุกอันมีทะนานหนึ่งเป็น ประมาณ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นาฬิโกทนํ ซึ่งข้าวสุกอันมีทะนานหนึ่งเป็นประมาณ เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ณ ปัจจัยใน ปริมาณตัทธิต ใช้แทน ปริมาณ ศัพท์หรือ ปมาณ ศัพท์ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ณ.ปริมาณ.วิ. นาฬิ ปริมาณา อสฺสาติ นาฬิโก (โอทโน) [ลง ก สกัด] ทะนานหนึ่ง เป็นประมาณ ของข้าวสุกนั้น เหตุนั้น ข้าวสุกนั้น ชื่อว่าอันมี ทะนานหนึ่งเป็นประมาณ [ปริมาณตัทธิต เป็น ตัทธิตนอกแบบ ตามหนังสือสัททนีติธาตุมาลา หน้า ๑๑๓๐] วิ.บุพ.กัม.วิ. นาฬิโก โอทโน = นาฬิโกทโน

ศัพท์บาลี --->>นาเสตุกาม-->> คำแปล --->>ว. ผู้ใคร่เพื่ออันให้ฉิบหาย ปุ. แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นาเสตุกาโม (ปุคฺคโล) อ. บุคคล ผู้ใคร่เพื่ออันให้ฉิบหาย เป็นจตุตถีตัป ปุริสสมาส วิ.ว่า นาเสตุ กาโม = นาเสตุกาโม (ปุคฺคโล) [ลบนิคคหิตบทหน้า]

ศัพท์บาลี --->>นาเสตุ-->> คำแปล --->>น. อ.อันให้ฉิบหาย,เพื่ออันให้ฉิบหาย นส ธาตุ ในความฉิบหาย + เณ ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก+ ตุ ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูป เป็น นาเสตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นาเสถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) ยัง…จงให้ฉิบหาย นส ธาตุ ในความฉิบหาย + เณ ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก+ ถ ปัญจมีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นาเสถ

ศัพท์บาลี --->>นาเสนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ภิกฺขู อ. ภิกษ ท.) ยัง…ย่อมให้ ฉิบหาย นส ธาตุ ในความฉิบหาย + เณ ปัจจัย ในเหตุกัตตุวาจก+ อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ ด้วย อำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นาเสนฺติ

ศัพท์บาลี --->>นาเสสิ-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้ฉิบหายแล้ว นส ธาตุ ในความ ฉิบหาย + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก+ อี อัชชัตตนีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นาเสสิ ดู อกริ

ศัพท์บาลี --->>นาเสสฺสติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ราชา อ.พระราชา) ยัง…จักให้ ฉิบหาย นส ธาตุ ในความฉิบหาย + เณ ปัจจัยใน เหตุกัตตุวาจก+ สฺสติ ภวิสสันติวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือ ไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นาเสสฺสติ

ศัพท์บาลี --->>นาเสสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) ยัง…จักให้ฉิบหาย นส ธาตุ ในความฉิบหาย + เณ ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก+ สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือ ไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นาเสสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>นาเสหิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) ยัง…จงให้ฉิบหาย นส ธาตุ ในความฉิบหาย + เณ ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก+ หิ ปัญจมีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นาเสหิ

ศัพท์บาลี --->>นิกาย-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นิกาย แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิกาโย อ. นิกาย

ศัพท์บาลี --->>นิกฺกงฺข-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้มีความสงสัยออกแล้ว แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิกฺกงฺโข (อุปาสโก) อ. อุบาสก ผู้มีความสงสัยออกแล้ว เป็นฉัฏฐีตุลยาธิ กรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นิกฺขนฺตา กงฺขา ยสฺส โส นิกฺกงฺโข (อุปาสโก) ความสงสัย ของอุบาสก ใด ออกแล้ว อุบาสกนั้น ชื่อว่าผู้มีความสงสัยออก แล้ว [นิ ในรูปวิเคราะห์ ใช้ นิกฺขนฺต แทน และใน บทสมาส ซ้อน กฺ หน้า ก]

ศัพท์บาลี --->>นิกฺกฑฺฒติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ภาตา อ. พี่ชาย) ย่อมคร่าออก นิ แปลว่า ออก บทหน้า + กฑฺฒ ธาตุ ในความคร่า, ความฉุด + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานา วิภัตติ ซ้อน กฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูปเป็น นิกฺกฑฺฒติ

ศัพท์บาลี --->>นิกฺกฑฺฒถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) จงคร่าออก นิ แปลว่า ออก บทหน้า + กฑฺฒ ธาตุ ในความคร่า, ความฉุด + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ถ ปัญจมีวิภัตติ ซ้อน กฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูปเป็น นิกฺกฑฺฒถ

ศัพท์บาลี --->>นิกฺกฑฺฒาเปตุ-->> คำแปล --->>น. อ.อันให้คร่าออก, เพื่ออัน ให้คร่าออก นิ แปลว่า ออก บทหน้า + กฑฺฒ ธาตุ ในความคร่า, ความฉุด + ณาเป ปัจจัยใน เหตุกัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย ซ้อน กฺ หน้าธาตุ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น นิกฺกฑฺฒาเปตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นิกฺกฑฺฒาเปสิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) ยัง…ย่อมให้ คร่าออก นิ แปลว่า ออก บทหน้า + กฑฺฒ ธาตุ ในความคร่า, ความฉุด + ณาเป ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก + สิ วัตตมานาวิภัตติ ซ้อน กฺ หน้าธาตุ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น นิกฺกฑฺฒาเปสิ

ศัพท์บาลี --->>นิกฺกฑฺฒาเปหิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) ยัง…จงให้คร่า ออก นิ แปลว่า ออก บทหน้า + กฑฺฒ ธาตุ ในความคร่า, ความฉุด + ณาเป ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ ซ้อน กฺ หน้า ธาตุ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น นิกฺกฑฺฒาเปหิ

ศัพท์บาลี --->>นิกฺกฑฺฒิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น มหาปนฺถโก อ. มหาปันถก) คร่าออกแล้ว นิ แปลว่า ออก บทหน้า + กฑฺฒ ธาตุ ในความคร่า + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ซ้อน กฺ หน้าธาตุ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิกฺกฑฺฒิ

ศัพท์บาลี --->>นิกฺกฑฺฒิต-->> คำแปล --->>ก. อัน…คร่าออกแล้ว นิ แปลว่า ออก บทหน้า + กฑฺฒ ธาตุ ในความคร่า + ต ปัจจัย ซ้อน กฺ หน้าธาตุ ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น นิกฺกฑฺฒิต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>นิกฺกมฺม-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีการงานออกแล้ว อิต. ลง อา เครื่องหมายอิตถีลิงค์ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. นิกฺกมฺมา (อิตฺถิโย) อ. หญิง ท. ผู้มีการ งานออกแล้ว เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นิกฺขนฺตํ กมฺมํ ยาสํ ตา นิกฺกมฺมา (อิตฺถิโย) การงาน ของหญิง ท. เหล่าใด ออกแล้ว หญิง ท. เหล่านั้น ชื่อว่าผู้มีการงานออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขนิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. หมกแล้ว นิ บทหน้า + ขน ธาตุ ในความขุด มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า หมก + ตฺวา ปัจจัย ซ้อน กฺ หน้าธาตุ ลง อิ อาคม สำเร็จรูป เป็น นิกฺขนิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขนฺต-->> คำแปล --->>ก. ออกมาแล้ว, ออกไปแล้ว นิ + ขม ธาตุในความอดทน มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ออกมา, ออกไป + ต ปัจจัย แปลง ต เป็น นฺต ลบ ม ที่สุดธาตุ ได้รูปเป็น นิกฺขนฺต ดู อกิลนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขนฺตกาล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กาลแห่ง…ออกไปแล้ว แจก เหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. นิกฺขนฺตกาเล ในกาล แห่ง…ออกไปแล้ว เฉพาะปัญจมีวิภัตติ ฝ่ายเอก วจนะ ลง โต ปัจจัย เป็น นิกฺขนฺตกาลโต บ้าง เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิกฺขนฺตสฺส กาโล = นิกฺขนฺตกาโล

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขนฺตภาว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความที่แห่ง…เป็นผู้ออกไป แล้ว แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นิกฺขนฺตภาวํ ซึ่งความที่แห่ง…เป็นผู้ออกไปแล้ว เป็นฉัฏฐี ตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิกฺขนฺตสฺส ภาโว = นิกฺขนฺตภาโว

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขนฺตรสฺมิ-->> คำแปล --->>น.,อิต. พระรัศมีอันซ่านออกแล้ว แจกเหมือน รตฺติ เช่น ทุ.พหุ. นิกฺขนฺตรสฺมิโย ซึ่งพระรัศมีอันซ่านออกแล้ว ท. เป็นวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นิกฺขนฺตา รสฺมิโย = นิกฺขนฺตรสฺมิโย

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขนฺตรํสิ-->> คำแปล --->>น.,อิต. พระรัศมีอันเปล่งออกแล้ว แจกเหมือน รตฺติ เช่น ป.พหุ. นิกฺขนฺตรํสิโย อ. พระรัศมีอันเปล่งออกแล้ว ท. เป็นวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นิกฺขนฺตา รํสิโย = นิกฺขนฺตรํสิโย

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขนฺตเวลา-->> คำแปล --->>น.,อิต. เวลาแห่ง…ออกไปแล้ว แจกเหมือน กญฺญา เช่น ส.เอก. นิกฺขนฺตเวลาย ใน เวลาแห่ง…ออกไปแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิกฺขนฺตสฺส เวลา = นิกฺขนฺตเวลา

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขม-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จงออกไป นิ + ขม ธาตุ ในความอดทน มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ออกไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ ซ้อน กฺ หน้า ขม ธาตุ ลบ หิ สำเร็จรูปเป็น นิกฺขม

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขมติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น อุสโภ อ. โคอุสภะ) ย่อมออกไป นิ + ขม ธาตุในความอดทน มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ออกไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ ซ้อน กฺ หน้า ขม ธาตุ สำเร็จรูป เป็น นิกฺขมติ

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขมถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) จงออกไป นิ + ขม ธาตุในความอดทน มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ออกไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ถ ปัญจมีวิภัตติ ซ้อน กฺ หน้า ขม ธาตุ สำเร็จรูปเป็น นิกฺขมถ

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขมน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. การออกไป แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิกฺขมนํ ซึ่งการออกไป คำว่า นิกฺขมน มาจาก นิ + ขม ธาตุในความอดทน มีอุปสัค อยู่หน้า แปลว่า ออกไป + ยุ ปัจจัย ซ้อน กฺ หน้า ขม ธาตุ แปลง ยุ เป็น อน ได้รูปเป็น นิกฺขมน แปลว่า การออกไป เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า นิกฺขมนํ = นิกฺขมนํ

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขมนกาล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กาลเป็นที่ออกไป แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. นิกฺขมนกาเล ในกาลเป็นที่ ออกไป เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ.วิ. นิกฺขมติ เอตฺถาติ นิกฺขมโน (กาโล) วิ.บุพ.กัม.วิ นิกฺขมโน กาโล = นิกฺขมนกาโล

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขมนทิวส-->> คำแปล --->>น.ปุ. วันเป็นที่เสด็จออกไป ดู นิกฺขมนกาล

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขมนฺต-->> คำแปล --->>ก. ออกไปอยู่, พลุ่งออกอยู่ นิ + ขม ธาตุในความอดทน มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ออกไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ได้รูปเป็น นิกฺขมนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขมนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น มนุสฺสา อ. มนุษย์ ท.) ย่อม ออกไป นิ + ขม ธาตุในความอดทน มีอุปสัค อยู่หน้า แปลว่า ออกไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ ซ้อน กฺ หน้า ขม ธาตุ สำเร็จรูปเป็น นิกฺขมนฺติ

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขมนเวลา-->> คำแปล --->>น.,อิต. เวลาเป็นที่ออกไป เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ.วิ. นิกฺขมติ เอตฺถาติ นิกฺขมนา (เวลา) วิ.บุพ.กัม.วิ นิกฺขมนา เวลา = นิกฺขมนเวลา

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขมาม-->> คำแปล --->>ก. (มยํ อ. เรา ท.) ย่อมออกไป นิ + ขม ธาตุในความอดทน มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ออกไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ม วัตตมานา วิภัตติ ซ้อน กฺ หน้า ขม ธาตุ ม วิภัตติอยู่หลัง ทีฆะ อ ที่สุดธาตุ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น นิกฺขมาม

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขมาเปตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันอัน…ให้ออกไป, เพื่ออัน ให้ออกไป นิ + ขม ธาตุในความอดทน มีอุปสัค อยู่หน้า แปลว่า ออกไป + ณาเป ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น นิกฺขมาเปตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขมิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เถโร อ. พระเถระ) ออกไปแล้ว นิ + ขม ธาตุในความอดทน มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ออกไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ซ้อน กฺ หน้า ขม ธาตุ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิกฺขมิ

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขมิตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันออกไป, เพื่ออันออกไป นิ + ขม ธาตุในความอดทน มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ออกไป + ตุ ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิกฺขมิตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขมิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ออกไปแล้ว, เลื้อยออกแล้ว นิ + ขม ธาตุในความอดทน มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ออกไป + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิกฺขมิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขมิมฺหา-->> คำแปล --->>ก. (มยํ อ. เรา ท.) ออกไปแล้ว นิ + ขม ธาตุในความอดทน มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ออกไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + มฺหา อัชชัตตนี วิภัตติ ซ้อน กฺ หน้า ขม ธาตุ ลง อิ อาคม สำเร็จรูป เป็น นิกฺขมิมฺหา

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขมิสฺสติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ราชา อ. พระราชา) จักเสด็จ ออก นิ + ขม ธาตุในความอดทน มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ออกไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสติ ภวิสสันติวิภัตติ ซ้อน กฺ หน้า ขม ธาตุ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิกฺขมิสฺสติ

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขมึสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น คาวิโย อ. แม่โค ท.) ออกไปแล้ว นิ + ขม ธาตุในความอดทน มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ออกไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ ซ้อน กฺ หน้า ขม ธาตุ แปลง อุ เป็น อึสุ สำเร็จรูปเป็น นิกฺขมึสุ

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขมฺม-->> คำแปล --->>ก. ออกไปแล้ว นิ + ขม ธาตุในความ อดทน มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ออกไป + ตูนาทิปัจจัย ซ้อน กฺ หน้า ขม ธาตุ แปลง ตูนาทิปัจจัย เป็น ย แปลง ย กับ ม เป็น มฺม สำเร็จรูปเป็น นิกฺขมฺม

ศัพท์บาลี --->>นิกฺขสหสฺส-->> คำแปล --->>น.,นปุ. พันแห่งลิ่ม ดู อตฺตภาวสหสฺส

ศัพท์บาลี --->>นิขนิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ฝังแล้ว นิ + ขน ธาตุ ในความขุด มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ฝัง + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิขนิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิคจฺฉติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ปุคฺคโล อ. บุคคล) ย่อมเข้าถึง นิ = เข้า + คม ธาตุ ในความถึง + อ ปัจจัยใน กัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ แปลง คม ธาตุ เป็น คจฺฉ สำเร็จรูปเป็น นิคจฺฉติ

ศัพท์บาลี --->>นิคม-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นิคม แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิคโม อ. นิคม [นิคม = หัวเมือง, อำเภอ]

ศัพท์บาลี --->>นิคมคาม-->> คำแปล --->>น.,ปุ. บ้านอันตั้งอยู่แล้วในนิคม แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. นิคมคาเม ในบ้าน อันตั้งอยู่แล้วในนิคม เป็นสัตตมีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิคเม (โต) คาโม = นิคมคาโม

ศัพท์บาลี --->>นิคมติสฺส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระนิคมติสสะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิคมติสฺโส อ. พระนิคมติสสะ

ศัพท์บาลี --->>นิคมติสฺสตฺเถร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระเถระชื่อว่านิคมติสสะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิคมติสฺสตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่านิคมติสสะ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นิคมติสฺโส เถโร = นิคมติสฺสตฺเถโร [ซ้อน ตฺ]

ศัพท์บาลี --->>นิคมวาสิติสฺส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ติสสะผู้อยู่ในนิคมโดยปกติ แจกเหมือน ปุริส เช่น ฉ.เอก. นิคมวาสิติสฺสสฺส แห่งติสสะผู้อยู่ในนิคมโดยปกติ เป็นวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส มี ณี ปัจจัย กัตตุรูป กัตตุสาธนะ ลงในอรรถแห่งตัสสีละ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ณี.กัต.กัต.วิ. นิคเม วสติ สีเลนาติ นิคมวาสี (ติสฺโส) วิ.บุพ.กัม.วิ. นิคมวาสี ติสฺโส = นิคมวาสิติสฺโส

ศัพท์บาลี --->>นิคมวาสิติสฺสเถรวตฺถุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งพระ เถระชื่อว่าติสสะผู้อยู่ในนิคมโดยปกติ แจก เหมือน วตฺถุ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มี วิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส ณี ปัจจัย กัตตุรูป กัตตุสาธนะ ลงในอรรถแห่งตัสสีละ และวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. ติสฺโส เถโร = ติสฺสเถโร ณี.กัต.กัต.วิ. นิคเม วสติ สีเลนาติ นิคมวาสี (ติสฺสเถโร) วิ.บุพ.กัม.วิ. นิคมวาสี ติสฺสเถโร = นิคมวาสิติสฺสเถโร ฉ.ตัป.วิ. นิคม วาสิติสฺสเถรสฺส วตฺถุ = นิคมวาสิติสฺสเถรวตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>นิคฺคณฺห-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จงข่ม นิ + คห ธาตุ ในความถือเอา มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ข่ม + ณฺหา ปัจจัยในกัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ ซ้อน คฺ หน้าธาตุ ลบ ห ที่สุดธาตุ ลบ อา ที่ ณฺหา ปัจจัย ลบ หิ วิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นิคฺคณฺห

ศัพท์บาลี --->>นิคฺคณฺหนฺต-->> คำแปล --->>ก. ข่มขี่อยู่, เมื่อข่มขี่ นิ + คห ธาตุ ในความถือเอา มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ข่ม + ณฺหา ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ซ้อน คฺ หน้าธาตุ ลบ ห ที่สุดธาตุ ลบ อา ที่ ณฺหา ปัจจัย ได้รูปเป็น นิคฺคณฺหนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิคฺคณฺหิตุกาม-->> คำแปล --->>ว. ผู้ใคร่เพื่ออันข่มขี่ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิคฺคณฺหิตุกาโม (ครหทินฺโน) อ. ครหทิน ผู้ใคร่เพื่ออันข่มขี่ เป็นจตุตถีตัปปุริส สมาส วิ.ว่า นิคฺคณฺหิตุ กาโม = นิคฺคณฺหิตุกาโม (ครหทินฺโน) [ลบนิคคหิตบทหน้า]

ศัพท์บาลี --->>นิคฺคณฺหิตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันข่ม, เพื่ออันข่ม นิ + คห ธาตุ ในความถือเอา มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ข่ม + ณฺหา ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย ซ้อน คฺ หน้าธาตุ ลบ ห ที่สุดธาตุ ลบ อา ที่ ณฺหา ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิคฺคณฺหิตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นิคฺคณฺหิสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) จักข่มขี่ นิ + คห ธาตุ ในความถือเอา มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ข่มขี่ + ณฺหา ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ ซ้อน คฺ หน้าธาตุ ลบ ห ที่สุดธาตุ ลบ อา ที่ ณฺหา ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิคฺคณฺหิสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>นิคฺคณฺ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นิครนถ์ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. นิคฺคณฺา อ. นิครนถ์ ท.

ศัพท์บาลี --->>นิคฺคณฺสาวก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สาวกของนิครนถ์ แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิคฺคณฺสาวโก อ. สาวกของนิครนถ์ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิคฺคณฺานํ สาวโก = นิคฺคณฺสาวโก

ศัพท์บาลี --->>นิคฺคยฺหวาที-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (ปุคฺคโล) อ. บุคคล ผู้กล่าวข่ม โดยปกติ มาจาก นิคฺคยฺห บทหน้า + วท ธาตุ ในความกล่าว + ณี ปัจจัย ซ้อน คฺ หน้าธาตุ ด้วย อำนาจ ณี ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อี ได้รูปเป็น นิคฺคยฺหวาที แปลว่า ผู้กล่าวข่มโดยปกติ เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ ลง ในอรรถแห่งตัสสีละ วิ.ว่า นิคฺคยฺห วทติ สีเลนาติ นิคฺคยฺหวาที (ปุคฺคโล) บุคคลใด ย่อมกล่าวข่ม โดยปกติ เหตุนั้น บุคคลนั้น ชื่อว่า นิคฺคยฺหวาทีๆ ผู้กล่าวข่มโดยปกติ คำว่า นิคฺคยฺห แปลเป็น สมานกาลกิริยา คือแปลพร้อมกับ วทติ ไม่ออกคำ แปลของปัจจัย มาจาก นิ + คห ธาตุ ในความ ถือเอา มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ข่ม + ตูนาทิปัจจัย ซ้อน คฺ หน้าธาตุ แปลงตูนาทิปัจจัย เป็น ย แปร ย ไว้หน้า ห สำเร็จรูปเป็น นิคฺคยฺห

ศัพท์บาลี --->>นิคฺคหก-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้ข่มขี่, ตัวข่มขี่ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิคฺคหโก (หตฺถินาโค) อ. ช้าง ตัวประเสริฐ ตัวข่มขี่ มาจาก นิ + คห ธาตุ ใน ความถือเอา มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ข่มขี่ + ณฺวุ ปัจจัย ซ้อน คฺ หน้าธาตุ แปลง ณฺวุ เป็น อก ได้รูป เป็น นิคฺคหก แปลว่า ผู้ข่มขี่ เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ วิ.ว่า นิคฺคณฺหาตีติ นิคฺคหโก (หตฺถินาโค) ช้างตัวประเสริฐใด ย่อมข่มขี่ เหตุนั้น ช้างตัวประเสริฐนั้น ชื่อว่า นิคฺคหโกๆ ตัวข่มขี่

ศัพท์บาลี --->>นิฆํสนฺต-->> คำแปล --->>ก. เสียดสีอยู่ นิ + ฆํส ธาตุ ในความ เสียดสี + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ได้รูปเป็น นิฆํสนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิจฺจ-->> คำแปล --->>ว. เป็นนิจ, ประจำ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิจฺโจ (กาโล) อ. กาล เป็นนิจ นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นิจฺจํ (ภตฺตํ) อ. ภัต ประจำ

ศัพท์บาลี --->>นิจฺจกาล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กาลเป็นนิจ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นิจฺจกาลํ สิ้นกาลเป็นนิจ เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นิจฺโจ กาโล = นิจฺจกาโล

ศัพท์บาลี --->>นิจฺจนกฺขตฺตํ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (นครํ) อ. พระนคร มีนักษัตร ตลอดกาลเป็นนิจ เป็นฉัฏฐีภินนาธิกรณพหุ พพิหิสมาส วิ.ว่า นิจฺจํ นกฺขตฺตํ ยสฺส ตํ นิจฺจนกฺขตฺตํ (นครํ) นักษัตร ของพระนครใด (มีอยู่) ตลอดกาลเป็นนิจ พระนครนั้น ชื่อว่ามี นักษัตรตลอดกาลเป็นนิจ

ศัพท์บาลี --->>นิจฺจปฺปมตฺต-->> คำแปล --->>ว. ผู้ประมาทแล้วตลอดกาลเป็นนิจ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. นิจฺจปฺปมตฺตา (มนุสฺสา) อ. มนุษย์ ท. ผู้ประมาทแล้วตลอดกาล เป็นนิจ เป็นทุติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิจฺจํ ปมตฺตา = นิจฺจปฺปมตฺตา (มนุสฺสา) [ซ้อน ปฺ]

ศัพท์บาลี --->>นิจฺจภตฺตสลากภตฺตคิลานภตฺตาทีนํ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (ภตฺตานํ) แก่ภัต ท. มีนิตยภัตและสลากภัต และคิลานภัตเป็นต้น เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณ พหุพพิหิสมาส มีสมาหารทวันทวสมาส เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทวัน.วิ. นิจฺจภตฺตญฺจ สลากภตฺตญฺจ คิลานภตฺตญฺจ = นิจฺจภตฺตสลากภตฺตคิลานภตฺตํ ฉ.ตุล.วิ. นิจฺจภตฺตสลากภตฺตคิลานภตฺตํ อาทิ เยสํ ตานิ นิจฺจภตฺตสลากภตฺตคิลานภตฺตาทีนิ (ภตฺตานิ) นิตยภัตและสลากภัตและคิลานภัต เป็นต้น ของ ภัต ท. เหล่าใด ภัต ท. เหล่านั้น ชื่อว่ามีนิตยภัต และสลากภัตและคิลานภัตเป็นต้น

ศัพท์บาลี --->>นิจฺจมฺม-->> คำแปล --->>ว. มีหนังออกแล้ว นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นิจฺจมฺมํ (ลลาฏํ) อ. หน้าผาก มีหนัง ออกแล้ว เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นิกฺขนฺตํ จมฺมํ ยสฺส ตํ นิจฺจมฺมํ (ลลาฏํ) หนัง ของหน้าผากใด ออกแล้ว หน้าผากนั้น ชื่อว่ามีหนังออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิจฺจล-->> คำแปล --->>ว. มีความไหวออกแล้ว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิจฺจโล (เทวทตฺโต) อ. พระ-เทวทัต มีความไหวออกแล้ว เป็นฉัฏฐีตุลยาธิ กรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นิกฺขนฺตํ จลํ ยสฺส โส นิจฺจโล (เทวทตฺโต) ความไหว ของพระเทวทัตใด ออกแล้ว พระเทวทัตนั้น ชื่อว่ามีความไหว ออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิจฺจิตฺต-->> คำแปล --->>ว. มีจิตออกแล้ว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิจฺจิตฺโต (สโร) อ. ลูกศร มีจิต ออกแล้ว เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นิกฺขนฺตํ จิตฺตํ ยสฺส โส นิจฺจิตฺโต (สโร) จิต ของลูกศรใด ออกแล้ว ลูกศรนั้น ชื่อว่ามีจิต ออกแล้ว [ซ้อน จฺ]

ศัพท์บาลี --->>นิจฺฉย-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความจำนงพระทัย แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิจฺฉโย อ. ความจำนงพระทัย

ศัพท์บาลี --->>นิจฺฉรติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น สโร อ. เสียง) ย่อมเปล่งออก นิ = ออก + ฉร ธาตุ ในความเปล่ง + อ ปัจจัยใน กัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ ซ้อน จฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูปเป็น นิจฺฉรติ

ศัพท์บาลี --->>นิจฺฉารยมาน-->> คำแปล --->>ก. เปล่งอยู่ นิ = ออก + ฉร ธาตุ ในความเปล่ง + ณย ปัจจัยในกัตตุวาจก + มาน ปัจจัย ซ้อน จฺ หน้าธาตุ ด้วยอำนาจ ณย ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ ย ได้ รูปเป็น นิจฺฉารยมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>นิจฺฉาเรนฺต-->> คำแปล --->>ก. เปล่งออกอยู่ นิ = ออก + ฉร ธาตุ ในความเปล่ง + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ซ้อน จฺ หน้าธาตุ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ได้รูปเป็น นิจฺฉาเรนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิจฺฉาเรสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น สโร อ. เสียง) เปล่งออกแล้ว นิ = ออก + ฉร ธาตุ ในความเปล่ง + เณ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ซ้อน จฺ หน้า ธาตุ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิจฺฉาเรสิ

ศัพท์บาลี --->>นิชฺชีว-->> คำแปล --->>ว. มีความเป็นอยู่ออกแล้ว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิชฺชีโว (สโร) อ. ลูกศร มีความ เป็นอยู่ออกแล้ว เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส วิ.ว่า นิกฺขนฺโต ชีโว ยสฺส โส นิจฺจิตฺโต (สโร) ความเป็นอยู่ ของลูกศรใด ออกแล้ว ลูกศร นั้น ชื่อว่ามีความเป็นอยู่ออกแล้ว [ซ้อน ชฺ]

ศัพท์บาลี --->>นิฏฺฐุหิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ถ่มแล้ว นิ + ฐุห ธาตุ ในความบ้วน, ความถ่ม + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม ซ้อน ฏฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูปเป็น นิฏฺฐุหิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิฏฺา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ความสำเร็จ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.เอก. นิฏฺ ซึ่งความสำเร็จ

ศัพท์บาลี --->>นิฏฺาติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ปสาธนํ อ. เครื่องประดับ) ย่อม สำเร็จ นิ + า ธาตุ ในความตั้งอยู่ มีอุปสัคอยู่ หน้า แปลว่า สำเร็จ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก ซ้อน ฏฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูปเป็น นิฏฺาติ

ศัพท์บาลี --->>นิฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ความสำเร็จ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิฏฺานํ ซึ่งความสำเร็จ คำว่า นิฏฺาน มาจาก นิ + า ธาตุ ในความตั้งอยู่ มีอุปสัค อยู่หน้า แปลว่า สำเร็จ + ยุ ปัจจัย ซ้อน ฏฺ หน้า ธาตุ แปลง ยุ เป็น อน ได้รูปเป็น นิฏฺาน แปลว่า ความสำเร็จ เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า นิฏฺานํ = นิฏฺานํ

ศัพท์บาลี --->>นิฏฺาสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น กิจฺจํ อ. กิจ) สำเร็จแล้ว นิ + า ธาตุ ในความตั้งอยู่ มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า สำเร็จ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนี วิภัตติ ซ้อน ฏฺ หน้าธาตุ ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิฏฺาสิ

ศัพท์บาลี --->>นิฏฺาเปตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้สำเร็จแล้ว นิ + า ธาตุ ในความตั้งอยู่ มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า สำเร็จ + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ซ้อน ฏฺ หน้าธาตุ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป เป็น นิฏฺา + อาเป ลบ อา ที่ า สำเร็จรูปเป็น นิฏฺาเปตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิฏฺาเปสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เถโร อ. พระเถระ) ยัง…ให้จบ แล้ว นิ + า ธาตุ ในความตั้งอยู่ มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า จบ + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ซ้อน ฏฺ หน้าธาตุ ลบ ณ เหลือ ไว้แต่ อาเป เป็น นิฏฺา + อาเป ลบ อา ที่ า ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิฏฺาเปสิ

ศัพท์บาลี --->>นิฏฺต-->> คำแปล --->>ก. สำเร็จแล้ว, จบแล้ว นิ + า ธาตุ ใน ความตั้งอยู่ มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า สำเร็จ, จบ + ต ปัจจัย ซ้อน ฏฺ หน้าธาตุ แปลง อา ที่ า ธาตุ เป็น อิ ได้รูปเป็น นิฏฺต ดู อกิลนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิฏฺตทิวเส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ในวันแห่ง…สำเร็จแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิฏฺตสฺส ทิวโส = นิฏฺตทิวโส

ศัพท์บาลี --->>นิฏฺตานิฏฺตภาว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความที่แห่งภัตเป็นภัต สำเร็จแล้วหรือไม่สำเร็จแล้ว แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นิฏฺตานิฏฺตภาวํ ซึ่งความที่ แห่งภัตเป็นภัตสำเร็จแล้วหรือไม่สำเร็จแล้ว เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีวิเสสโนภยบท กัมมธารย สมาส (โดยอนุโลม) เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตาม ลำดับ ดังนี้ วิ.โนภย.กัม.วิ. นิฏฺตํ วา อนิฏฺตํ วา = นิฏฺตานิฏฺตํ (ภตฺตํ) ภัตอันสำเร็จแล้วหรือไม่ สำเร็จแล้ว ฉ.ตัป.วิ. นิฏฺตานิฏฺตสฺส (ภตฺตสฺส) ภาโว = นิฏฺตานิฏฺตภาโว

ศัพท์บาลี --->>นิตฺถริตพฺพ-->> คำแปล --->>ก. อัน…พึงช่วยเหลือ นิ + ถุ ธาตุ ในความยกย่อง มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ถอนออก, ช่วยเหลือ + ตพฺพ ปัจจัย ซ้อน ตฺ หน้าธาตุ อาเทส อุ ที่ ถุ ธาตุ เป็น อร ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น นิตฺถริตพฺพ ดู อชานิตพฺพ

ศัพท์บาลี --->>นิตฺถริตุ-->> คำแปล --->>น. อ.อันถอนออก, เพื่ออันถอนออก, เพื่ออันรื้อออก นิ + ถุ ธาตุ ในความยกย่อง มี อุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ถอนออก, ช่วยเหลือ + ตุ ปัจจัย ซ้อน ตฺ หน้าธาตุ อาเทส อุ ที่ ถุ ธาตุ เป็น อร ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น นิตฺถริตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นิตฺถุนนฺต-->> คำแปล --->>ก. ทอดถอนอยู่ นิ + ถุ ธาตุ ในความ ยกย่อง มีอุปสัคอยู่หน้า แปลว่า ถอนออก + นา ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ซ้อน ตฺ หน้า ธาตุ ลบ อา ที่ นา ปัจจัย ได้รูปเป็น นิตฺถุนนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิทหิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ฝังแล้ว นิ + ทห ธาตุ ในความฝัง + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิทหิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิทาน-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (เหตุ) เป็นแดนมอบให้ (ซึ่งผล) แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. นิทาเน (การเณ) ในเพราะเหตุ เป็นแดนมอบให้(ซึ่งผล) มาจาก นิ + ทา ธาตุ ในความให้ + ยุ ปัจจัย แปลง ยุ เป็น อน ได้รูปเป็น นิทาน แปลว่า เป็นแดนมอบให้ เป็นกัตตุรูป อปาทานสาธนะ วิ.ว่า (วิปากํ) นิเทติ เอตสฺมาติ นิทานํ (การณํ) กรรม ย่อม มอบให้ ซึ่งผล แต่เหตุนั่น เหตุนั้น เหตุนั่น ชื่อว่า นิทานํๆ เป็นแดนมอบให้ (ซึ่งผล)

ศัพท์บาลี --->>นิทฺทา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ความหลับ, การบรรทม แจก เหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. นิทฺทา อ. การบรรทม, ความหลับ มาจาก นิ + ทา ธาตุ ในความหลับ + อ ปัจจัย ซ้อน ทฺ หน้าธาตุ ได้รูปเป็น นิทฺทา แปลว่า ความ, การ, อันหลับ เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า นิทฺทายนํ = นิทฺทา ความหลับ ชื่อว่า นิทฺทาๆ ความ, การ, อันหลับ

ศัพท์บาลี --->>นิทฺทายติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ภริยา อ. ภรรยา) ย่อมหลับ นิ + ทา ธาตุ ในความหลับ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ ซ้อน ทฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูป เป็น นิทฺทายติ [ทา ธาตุ ในความหลับ จาก หนังสือสัททนีติธาตุมาลา หน้า ๕๙๑]

ศัพท์บาลี --->>นิทฺทายน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ความหลับ แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นิทฺทายนํ อ. ความหลับ คำว่า นิทฺทายน มาจาก นิ + ทา ธาตุ ในความหลับ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ยุ ปัจจัย ซ้อน ทฺ หน้า ธาตุ แปลง ยุ เป็น อน ได้รูปเป็น นิทฺทายน แปลว่า ความ, การ, อันหลับ วิ.ว่า นิทฺทายนํ = นิทฺทายนํ ความ, การ, อันหลับ ชื่อว่า นิทฺทายนํๆ ความ, การ, อันหลับ

ศัพท์บาลี --->>นิทฺทายนกาล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กาลเป็นที่หลับ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิทฺทายนกาโล อ. กาลเป็นที่ หลับ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ.วิ. นิทฺทายติ เอตฺถาติ นิทฺทายโน (กาโล) วิ.บุพ.กัม.วิ. นิทฺทายโน กาโล = นิทฺทายนกาโล

ศัพท์บาลี --->>นิทฺทายนภาว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความเป็นคืออันหลับ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นิทฺทายนภาวํ ซึ่งความเป็นคืออันหลับ เป็นอวธารณบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นิทฺทายนํ เอว ภาโว = นิทฺทายนภาโว

ศัพท์บาลี --->>นิทฺทายนฺต-->> คำแปล --->>ก. หลับอยู่ นิ + ทา ธาตุ ในความหลับ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ซ้อน ทฺ หน้าธาตุ ได้รูปเป็น นิทฺทายนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิทฺทายนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น มนุสฺสา อ. มนุษย์ ท.) ย่อม หลับ นิ + ทา ธาตุ ในความหลับ + ย ปัจจัยใน กัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ ซ้อน ทฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูปเป็น นิทฺทายนฺติ

ศัพท์บาลี --->>นิทฺทายมาน-->> คำแปล --->>ก. หลับอยู่ นิ + ทา ธาตุ ในความ หลับ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + มาน ปัจจัย ซ้อน ทฺ หน้าธาตุ ได้รูปเป็น นิทฺทายมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>นิทฺทายิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ทารโก อ. เด็ก) หลับแล้ว นิ + ทา ธาตุ ในความหลับ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ซ้อน ทฺ หน้าธาตุ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิทฺทายิ

ศัพท์บาลี --->>นิทฺทายิตพฺพํ-->> คำแปล --->>ก. อัน…พึงหลับ นิ + ทา ธาตุ ใน ความหลับ + ย ปัจจัย + ตพฺพ ปัจจัย ลง อิ อาคม ซ้อน ทฺ หน้าธาตุ ได้รูปเป็น นิทฺทายิตพฺพ อ การันต์ ในนปุงสกลิงค์ ลง สิ ปฐมาวิภัตติ ฝ่าย เอกวจนะ แปลง อ กับ สิ เป็น อํ สำเร็จรูปเป็น นิทฺทายิตพฺพํ

ศัพท์บาลี --->>นิทฺทายิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. หลับแล้ว นิ + ทา ธาตุ ในความ หลับ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ซ้อน ทฺ หน้าธาตุ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิทฺทายิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิทฺทายิสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) จักหลับ นิ + ทา ธาตุ ในความหลับ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ ซ้อน ทฺ หน้าธาตุ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิทฺทายิสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>นิทฺทิสนฺต-->> คำแปล --->>ก. แสดงอ้างอยู่, เมื่อทรงแสดงอ้าง นิ + ทิส ธาตุ ในความแสดง + อ ปัจจัยใน กัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ซ้อน ทฺ หน้าธาตุ ได้รูป เป็น นิทฺทิสนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิทฺทูปคต-->> คำแปล --->>ว. ผู้เข้าถึงแล้วซึ่งความหลับ นิทฺทา= ความหลับ + อุป + คม ธาตุ + ต ปัจจัย ระหว่าง นิทฺทา - อุป ลบสระหน้า คือ อา ที่ นิทฺทา ทีฆะ สระหลัง คือ อุ ที่ อุป เป็น อู ลบ ม ที่สุดธาตุ ได้รูปเป็น นิทฺทูปคต เป็นทุติยาตัปปุริสสมาส ปุ. แจกเหมือน ปุริส อิต. ลง อา เครื่องหมายอิตถีลิงค์ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ฉ.พหุ. นิทฺทูปคตานํ (อิตฺถีนํ) ของหญิง ท. ผู้เข้าถึงแล้วซึ่งความหลับ วิ.ว่า นิทฺทํ อุปคตา = นิทฺทูปคตา (อิตฺถิโย)

ศัพท์บาลี --->>นิทฺโทส-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีโทษออกแล้ว นิ + โทส [ซ้อน ทฺ] เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส ปุ. แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. นิทฺโทสา (ชนา) อ. ชน ท. ผู้มีโทษออกแล้ว วิ.ว่า นิกฺขนฺโต โทโส เยสํ เต นิทฺโทสา (ชนา) โทษ ของชน ท. เหล่าใด ออกแล้ว ชน ท. เหล่านั้น ชื่อว่าผู้มีโทษออกแล้ว [นิ ในรูปวิเคราะห์ใช้ นิกฺขนฺต แทน] อิต. ลง อา เครื่องหมายอิตถีลิงค์ แจกเหมือน กญฺญา

ศัพท์บาลี --->>นิทฺโทสภาว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความที่แห่ง…เป็นผู้มีโทษ ออกแล้ว แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิทฺโทสภาโว อ. ความที่แห่ง…เป็นผู้มีโทษออก แล้ว เป็นฉัฏฐีพหุพพิหิสมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิกรณ พหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. นิกฺขนฺโต โทโส เยสํ เต นิทฺโทสา (ชนา) ฉ.ตัป.วิ. นิทฺโทสานํ (ชนานํ) ภาโว = นิทฺโทสภาโว

ศัพท์บาลี --->>นิธิ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ขุมทรัพย์ แจกเหมือน มุนิ เช่น ป.เอก. นิธิ อ. ขุมทรัพย์

ศัพท์บาลี --->>นิธิกุมฺภี-->> คำแปล --->>น.,อิต. หม้อแห่งขุมทรัพย์ แจกเหมือน นารี เช่น ป.พหุ. นิธิกุมฺภิโย อ. หม้อแห่ง ขุมทรัพย์ ท. เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิธีนํ กุมฺภิโย = นิธิกุมฺภิโย

ศัพท์บาลี --->>นิธิอาจิกฺขนก-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้บอกซึ่งขุมทรัพย์ มาจาก นิธิ + อา + จิกฺข ธาตุ ในความบอก + ณฺวุ ปัจจัย แปลง ณฺวุ เป็น อก ได้รูปเป็น นิธิอาจิกฺขนก แปลว่า ผู้บอกซึ่งขุมทรัพย์ เป็นกัตตุรูป กัตตุ สาธนะ วิ.ว่า นิธึ อาจิกฺขตีติ นิธิอาจิกฺขนโก (ปุคฺคโล) บุคคลใด ย่อมบอก ซึ่งขุมทรัพย์ เหตุนั้น บุคคลนั้น ชื่อว่า นิธิอาจิกฺขนโกๆ ผู้บอกซึ่งขุมทรัพย์

ศัพท์บาลี --->>นินฺทา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ความนินทา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. นินฺทา อ. ความนินทา คำว่า นินฺทา มาจาก นิทิ ธาตุ ในความนินทา, ความติเตียน, ความตำหนิ + อ ปัจจัย ลงนิคคหิตอาคมที่ พยัญชนะต้นธาตุ แล้วแปลงนิคคหิต เป็น นฺ เพราะ ท อยู่หลัง ลบ อิ ที่ ทิ ลง อา เครื่องหมาย อิตถีลิงค์ ได้รูปเป็น นินฺทา แปลว่า ความ, การ, อันนินทา เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า นินฺทนํ = นินฺทา

ศัพท์บาลี --->>นินฺทาปสํสาสุ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ในเพราะความนินทาและ ความสรรเสริญ ท. เป็นอสมาหารทวันทวสมาส แจกเหมือน กญฺญา เฉพาะฝ่ายพหุวจนะ วิ.ว่า นินฺทา จ ปสํสา จ = นินฺทาปสํสา ความนินทา และความสรรเสริญ ท.

ศัพท์บาลี --->>นินฺน-->> คำแปล --->>ว. ลุ่ม นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นินฺนํ (านํ) อ. ที่ลุ่ม

ศัพท์บาลี --->>นินฺนฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่ลุ่ม แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. นินฺนฏฺาเน ในที่ลุ่ม เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นินฺนํ านํ = นินฺนฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ]

ศัพท์บาลี --->>นิปก-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาซึ่งตน แจก เหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นิปกํ (ปุคฺคลํ) ซึ่งบุคคล ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาซึ่งตน

ศัพท์บาลี --->>นิปก-->> คำแปล --->>ว. ผู้ยังกุศลธรรมให้สุกโดยไม่เหลือ(คือให้มีในตนโดยสมบูรณ์),ปัญญาอันยังกุศลธรรมให้สุกโดยไม่เหลือ, วิ. นิสฺเสสโต ปาเจติ กุสลธมฺเมติ นิปโก. นิปุพฺโพ, ปจฺ ปาเก, อ, จสฺส โก. ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาซึ่งตนโดยไม่เหลือ,ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน, ผู้มีปัญญารักษาตน,ผู้รักษาตนให้สิ้นจากปฏิปักษ์. นิปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.ผู้ยังปฏิปักษ์ให้สิ้น วิ.นิปยติปฏิปกฺขนฺติ นิปโก. ผู้มีไหวพริบ,ผู้ฉลาด,ผู้มีปัญญา,ผู้มีปัญญาแจ่มแจ้ง,ผู้รอบรู้,ผู้มีความตรัสรู้,ผู้มีญาณ,ผู้มีปัญญาทำลายกิเลส. ไตร.๓๐/๒๑๐.

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺช-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จงนอน นิ + ปท ธาตุ ใน ความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช ลบ หิ สำเร็จรูปเป็น นิปชฺช

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น สุนโข อ. สุนัข) ย่อมนอน นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช สำเร็จรูปเป็น นิปชฺชติ

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชตุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น อยฺยา อ. พระแม่เจ้า) จงนอน นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตุ ปัญจมีวิภัตติ แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช สำเร็จรูปเป็น นิปชฺชตุ

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. การนอน แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิปชฺชนํ ซึ่งการนอน เฉพาะปัญจมีวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ ลง โต ปัจจัย เป็น นิปชฺชนโต บ้าง คำว่า นิปชฺชน มาจาก นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยใน กัตตุวาจก + ยุ ปัจจัย แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช แปลง ยุ เป็น อน ได้รูปเป็น นิปชฺชน แปลว่า การนอน เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า นิปชฺชนํ = นิปชฺชนํ

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชนฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่เป็นที่นอน แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิปชฺชนฏฺานํ ซึ่งที่เป็นที่นอน เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ.วิ. นิปชฺชติ เอตฺถาติ นิปชฺชนํ (านํ) วิ.บุพ.กัม.วิ. นิปชฺชนํ านํ = นิปชฺชนฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ]

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชนมญฺจ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เตียงเป็นที่นอน แจกเหมือน ปุริส เช่น ฉ.เอก. นิปชฺชนมญฺจสฺส แห่งเตียง เป็นที่นอน เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ.วิ. นิปชฺชติ เอตฺถาติ นิปชฺชโน (มญฺโจ) วิ.บุพ.กัม.วิ. นิปชฺชโน มญฺโจ = นิปชฺชนมญฺโจ

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชนฺต-->> คำแปล --->>ก. บรรทมอยู่, นอนอยู่ นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช ได้รูปเป็น นิปชฺชนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น สุนขา อ. สนัข ท.) ย่อมนอน นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช สำเร็จรูป เป็น นิปชฺชนฺติ

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชมาน-->> คำแปล --->>ก. เมื่อนอน นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยใน กัตตุวาจก + มาน ปัจจัย แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช ได้รูปเป็น นิปชฺชมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชาปิต-->> คำแปล --->>ก. อัน…ให้นอนแล้ว นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยในหมวด ทิว ธาตุ + ณาเป ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก + ต ปัจจัยเป็นเหตุกัมมวาจก ลง อิ อาคม แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป เป็น นิปชฺชาเป + อิ + ต ลบสระหน้า คือ เอ ที่ เป ได้รูปเป็น นิปชฺชาปิต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) ย่อมนอน นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก+ มิ วัตตมานาวิภัตติ แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช มิ อยู่หลัง ทีฆะ อ ที่สุดธาตุ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น นิปชฺชามิ

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชาเปตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้นอนแล้ว, ให้หมอบ ลงแล้ว นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจ อุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยในหมวด ทิว ธาตุ + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูป เป็น นิปชฺชาเปตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชาเปสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น พฺราหฺมโณ อ. พราหมณ์) ยัง…ให้นอนแล้ว นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยใน หมวด ทิว ธาตุ + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิปชฺชาเปสิ

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชาเปสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น มาตาปิตโร อ. มารดาและ บิดา ท.) ยัง…ให้นอนแล้ว นิ + ปท ธาตุ ในความ ถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยใน หมวด ทิว ธาตุ + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป ลง ส อาคม สำเร็จรูปเป็น นิปชฺชาเปสุ

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชาเปหิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) ยัง…จงให้นอน นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยในหมวด ทิว ธาตุ + ณาเป ปัจจัย ในเหตุกัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูป เป็น นิปชฺชาเปหิ

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น นารโท อ. ดาบสชื่อว่านารทะ) นอนแล้ว นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจ อุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก+ อี อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิปชฺชิ

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชิตพฺพํ-->> คำแปล --->>ก. อัน…พึงนอน นิ + ปท ธาตุ ใน ความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยในหมวด ทิว ธาตุ + ตพฺพ ปัจจัย แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น นิปชฺชิตพฺพ อ การันต์ ในนปุงสกลิงค์ ลง สิ ปฐมาวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ แปลง อ กับ สิ เป็น อํ สำเร็จรูปเป็น นิปชฺชิตพฺพํ

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชิตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันอัน…นอน, เพื่ออันนอน นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช ลง อิ อาคม สำเร็จรูป เป็น นิปชฺชิตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. นอนแล้ว, หมอบลงแล้ว นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น นิปชฺชิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชิสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) จักนอน นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช ลง อิ อาคม สำเร็จรูป เป็น นิปชฺชิสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชึสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชนา อ. ชน ท.) นอนแล้ว นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช แปลง อุ เป็น อึสุ สำเร็จรูปเป็น นิปชฺชึสุ

ศัพท์บาลี --->>นิปชฺชโนกาส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. โอกาสเป็นที่นอน ดู นิปชฺชนมญฺจ

ศัพท์บาลี --->>นิปตนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น กูฏสหสฺสานิ อ. พันแห่งค้อน ท.) ย่อมตกลง นิ + ปต ธาตุ ในความตกไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นิปตนฺติ

ศัพท์บาลี --->>นิปนฺน-->> คำแปล --->>ก. นอนแล้ว นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ต ปัจจัย แปลง ต เป็น นฺน ลบ ท ที่สุดธาตุ ได้รูปเป็น นิปนฺน ดู อกิลนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิปนฺนก-->> คำแปล --->>ว. ผู้นอนแล้ว นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ต ปัจจัย แปลง ต เป็น นฺน ลบ ท ที่สุดธาตุ ลง ก สกัด ได้รูปเป็น นิปนฺนก ดู อกิลนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิปนฺนฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่แห่ง…นอนแล้ว แจก เหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิปนฺนฏฺานํ สู่ที่แห่ง… นอนแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิปนฺนสฺส านํ = นิปนฺนฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ]

ศัพท์บาลี --->>นิปนฺนภาว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความที่แห่ง…เป็นผู้นอนแล้ว แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นิปนฺนภาวํ ซึ่ง ความที่แห่ง…เป็นผู้นอนแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริส สมาส วิ.ว่า นิปนฺนสฺส ภาโว = นิปนฺนภาโว

ศัพท์บาลี --->>นิปนฺนมญฺจกโกฏิ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ปลายแห่งเตียงแห่ง… นอนแล้ว แจกเหมือน รตฺติ เช่น ส.เอก. นิปนฺนมญฺจกโกฏิยํ ที่ปลายแห่งเตียงแห่ง… นอนแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริส สมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. นิปนฺนสฺส มญฺจโก = นิปนฺนมญฺจโก ฉ.ตัป.วิ. นิปนฺนมญฺจกสฺส โกฏิ = นิปนฺน- มญฺจกโกฏิ

ศัพท์บาลี --->>นิปนฺนมตฺต-->> คำแปล --->>ว. ผู้สักว่านอนแล้ว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิปนฺนมตฺโต (เถโร) อ. พระเถระ ผู้สักว่านอนแล้ว เป็นสัมภาวนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นิปนฺโน อิติ มตฺโต = นิปนฺนมตฺโต (เถโร)

ศัพท์บาลี --->>นิปนฺนาการ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อาการแห่งตนนอนแล้ว แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. นิปนฺนากาเรน โดยอาการแห่งตนนอนแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริส สมาส วิ.ว่า นิปนฺนสฺส อากาโร = นิปนฺนากาโร

ศัพท์บาลี --->>นิปาติต-->> คำแปล --->>ก. อัน…ให้ตกไปแล้ว นิ + ปต ธาตุ ใน ความตกไป + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ต ปัจจัยเป็นเหตุกัมมวาจก ลง อิ อาคม ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือ ไว้แต่ เอ เป็น นิปาเต + อิ + ต ลบสระหน้า คือ เอ ที่ เต ได้รูปเป็น นิปาติต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>นิปฺปจฺจย-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีปัจจัยออกแล้ว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิปฺปจฺจโย (ปุคฺคโล) อ. บุคคล ผู้มีปัจจัยออกแล้ว เป็นปัญจมีตุลยาธิกรณพหุพ พิหิสมาส วิ.ว่า นิกฺขนฺโต ปจฺจโย ยสฺมา โส นิปฺปจฺจโย (ปุคฺคโล) ปัจจัย ออกไปแล้ว จาก บุคคลใด บุคคลนั้น ชื่อว่าผู้มีปัจจัยออกแล้ว [นิ ในรูปวิเคราะห์ ใช้ นิกฺขนฺต แทน และบท สมาส ซ้อน ปฺ]

ศัพท์บาลี --->>นิปฺปชฺชนฺต-->> คำแปล --->>ก. นอนอยู่ นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัยใน กัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ซ้อน ปฺ หน้าธาตุ แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช ได้รูปเป็น นิปฺปชฺชนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิปฺปชฺชาปิตภาว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความที่แห่ง…เป็นผู้อัน …ให้นอนแล้ว แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นิปฺปชฺชาปิตภาวํ ซึ่งความที่แห่ง…เป็นผู้อันบิดา ให้นอนแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิปฺปชฺชาปิตสฺส ภาโว = นิปฺปชฺชาปิตภาโว

ศัพท์บาลี --->>นิปฺปชฺชิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. นอนแล้ว นิ + ปท ธาตุ ในความ ถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า นอน + ย ปัจจัย ในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ซ้อน ปฺ หน้าธาตุ แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช ลง อิ อาคม สำเร็จรูป เป็น นิปฺปชฺชิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิปฺปชฺชิสฺสติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ปตฺถนา อ. ความปรารถนา) จักสำเร็จ นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจ อุปสัค แปลว่า สำเร็จ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสติ ภวิสสันติวิภัตติ ซ้อน ปฺ แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิปฺปชฺชิสฺสติ

ศัพท์บาลี --->>นิปฺปชฺเชยฺย-->> คำแปล --->>ก. (เช่น กิจฺจํ อ. กิจ) พึงสำเร็จ นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า สำเร็จ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + เอยฺย สัตตมี วิภัตติ ซ้อน ปฺ หน้าธาตุ แปลง ท กับ ย เป็น ชฺช สำเร็จรูปเป็น นิปฺปชฺเชยฺย

ศัพท์บาลี --->>นิปฺปญฺโญ-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (ปุคฺคโล) อ. บุคคล ผู้มีปัญญา ออกแล้ว แจกเหมือน ปุริส เป็นฉัฏฐีตุลยาธิ กรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นิกฺขนฺตา ปญฺญา ยสฺส โส นิปฺปญฺโญ (ปุคฺคโล) ปัญญา ของ บุคคลใด ออกไปแล้ว บุคคลนั้น ชื่อว่าผู้มีปัญญา ออกแล้ว [ซ้อน ปฺ]

ศัพท์บาลี --->>นิปฺปปญฺจภาวปฺปตฺถนา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ความปรารถนา ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีธรรมเครื่องเนิ่น ช้าออกแล้ว แจกเหมือน กญฺญา เช่น ต.เอก. นิปฺปปญฺจภาวปฺปตฺถนาย ด้วยความปรารถนา ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีธรรมเครื่องเนิ่นช้า ออกแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิ กรณพหุพพิหิสมาส และฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. นิกฺขนฺโต ปปญฺโจ ยสฺส โส นิปฺปปญฺโจ (ปุคฺคโล) ธรรมเป็นเครื่องเนิ่นช้า ของบุคคลใด ออกไปแล้ว บุคคลนั้น ชื่อว่าผู้มีธรรมเป็นเครื่อง เนิ่นช้าออกแล้ว ฉ.ตัป.วิ. นิปฺปปญฺจสฺส ภาโว = นิปฺปปญฺจภาโว ฉ.ตัป.วิ. นิปฺปปญฺจภาวสฺส ปตฺถนา = นิปฺปปญฺจภาวปฺปตฺถนา [ซ้อน ปฺ]

ศัพท์บาลี --->>นิปฺปีฬิยมาน-->> คำแปล --->>ก. อัน…รบเร้าอยู่ นิ + ปีฬ ธาตุ ใน ความเบียดเบียน,ความรบเร้า + อิ อาคม หน้า ย ปัจจัย + มาน ปัจจัย ซ้อน ปฺ หน้าธาตุ ได้รูปเป็น นิปฺปีฬิยมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>นิปฺผตฺติ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ความสำเร็จ แจกเหมือน รตฺติ เช่น ทุ.เอก. นิปฺผตฺตึ ซึ่งความสำเร็จ คำว่า นิปฺผตฺติ มาจาก นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วย อำนาจอุปสัค แปลว่า สำเร็จ + ติ ปัจจัย ซ้อน ปฺ หน้าธาตุ แปลง ป ต้นธาตุเป็น ผ แปลง ท ที่สุด ธาตุเป็น ตฺ ได้รูปเป็น นิปฺผตฺติ แปลว่า ความ สำเร็จ เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า นิปฺปชฺชนํ = นิปฺผตฺติ

ศัพท์บาลี --->>นิปฺผนฺน-->> คำแปล --->>ก. สำเร็จแล้ว นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า สำเร็จ + ต ปัจจัย ซ้อน ปฺ หน้าธาตุ แปลง ป ต้นธาตุเป็น ผ แปลง ต เป็น นฺน ลบ ท ที่สุดธาตุ ได้รูปเป็น นิปฺผนฺน ดู อกิลนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิปฺผลิต-->> คำแปล --->>ก. ไหลออกแล้ว นิ + ผล ธาตุ ในความ เผล็ดผล ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า ไหลออก + ต ปัจจัย ซ้อน ปฺ หน้าธาตุ ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น นิปฺผลิต ดู อกิลนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิปฺผาทนกกมฺม-->> คำแปล --->>น.,นปุ. กรรมเป็นเหตุยัง…ให้ สำเร็จ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิปฺผาทนก- กมฺมํ ซึ่งกรรมเป็นเหตุยัง…ให้สำเร็จ เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป กรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.กรณ.วิ. นิปฺผาเทติ เตนาติ นิปฺผาทนกํ (กมฺมํ) บุคคล ยังสมบัติ ย่อมให้สำเร็จ ด้วยกรรมนั้น เหตุนั้น กรรมนั้น ชื่อว่า นิปฺผาทนกํๆ เป็นเหตุยังสมบัติให้สำเร็จ วิ.บุพ.กัม.วิ. นิปฺผาทนกํ กมฺมํ = นิปฺผาทนก-กมฺมํ คำว่า นิปฺผาทนก ในคำว่า นิปฺผาทนก-กมฺมํ มาจาก นิ + ปท ธาตุในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า สำเร็จ + เณ ปัจจัยใน เหตุกัตตุวาจก + ยุ ปัจจัย ซ้อน ปฺ หน้าธาตุ แปลง ป ต้นธาตุเป็น ผ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ แปลง ยุ เป็น อน เป็น นิปฺผาเท + อน ลบ เอ ที่ เท เป็น นิปฺผาทน ลง ก สกัด ได้รูปเป็น นิปฺผาทนก แปลว่า เป็นเหตุยัง…ให้สำเร็จ

ศัพท์บาลี --->>นิปฺผาเทสิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) ยัง…ย่อมให้สำเร็จ นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า สำเร็จ + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก ซ้อน ปฺ หน้าธาตุ แปลง ป ต้นธาตุเป็น ผ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือ ไว้แต่ เอ ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูป เป็น นิปฺผาเทสิ

ศัพท์บาลี --->>นิปฺผาเทหิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) ยัง…จงให้สำเร็จ นิ + ปท ธาตุ ในความถึง ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า สำเร็จ + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก ซ้อน ปฺ หน้าธาตุ แปลง ป ต้นธาตุเป็น ผ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิปฺผาเทหิ

ศัพท์บาลี --->>นิพทฺธุปฏฺาก-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้บำรุงเนืองนิตย์ แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิพทฺธุปฏฺาโก (อุปาสโก) อ. อุบาสก ผู้บำรุงเนืองนิตย์ มาจาก นิพทฺธ + อุป + า ธาตุ ในความตั้งอยู่ ด้วยอำนาจ อุปสัค แปลว่า บำรุง + ณฺวุ ปัจจัย ซ้อน ฏฺ หน้า ธาตุ แปลง ณฺวุ เป็น อก ได้รูปเป็น นิพทฺธุปฏฺาก แปลว่า ผู้บำรุงเนืองนิตย์ เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ วิ.ว่า นิพทฺธํ อุปฏฺาตีติ นิพทฺธุปฏฺาโก (อุปาสโก)

ศัพท์บาลี --->>นิพทฺธํ-->> คำแปล --->>นิ. เนืองนิตย เช่น (ภิกฺขู) นิพทฺธํ … ปวิสนฺติ = อ. ภิกษุ ท. ย่อมเข้าไป … เนืองนิตย์

ศัพท์บาลี --->>นิพนฺธิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. รบเร้าแล้ว นิ + พนฺธ ธาตุ ในความ ผูก ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า รบเร้า + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิพนฺธิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺต-->> คำแปล --->>ก. บังเกิดแล้ว นิ + วตุ ธาตุ ในความเป็น ไป ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า บังเกิด + ต ปัจจัย แปลง ว ต้นธาตุเป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ แปลง ตุ ที่สุดธาตุเป็น ตฺ ได้รูปเป็น นิพฺพตฺต ดู อกิลนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺตกาล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กาลแห่ง…บังเกิดแล้ว แจก เหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. นิพฺพตฺตกาเล ในกาล แห่ง…บังเกิดแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิพฺพตฺตสฺส กาโล = นิพฺพตฺตกาโล

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺตฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่แห่ง…บังเกิดแล้ว แจก เหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิพฺพตฺตฏฺานํ ซึ่งที่ แห่ง…บังเกิดแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิพฺพตฺตสฺส านํ = นิพฺพตฺตฏฺานํ (ซ้อน ฏฺ]

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺตติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เทวปุตฺโต อ. เทพบุตร) ย่อม บังเกิด นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจ อุปสัค แปลว่า บังเกิด + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ แปลง ว ต้นธาตุเป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูปเป็น นิพฺพตฺตติ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺตตุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น อุปาสโก อ. อุบาสก) จงบังเกิด นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจ อุปสัค แปลว่า บังเกิด + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตุ ปัญจมีวิภัตติ แปลง ว ต้นธาตุเป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูปเป็น นิพฺพตฺตตุ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺตตฺต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ความที่แห่ง…เป็นผู้บังเกิด แล้ว ลง ตฺต ปัจจัย ในภาวตัทธิต แจกเหมือน กุล เช่น ปญฺ.เอก. นิพฺพตฺตตฺตา เพราะความที่ แห่ง…เป็นผู้บังเกิดแล้ว วิ.ว่า นิพฺพตฺตสฺส ภาโว = นิพฺพตฺตตฺตํ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺตนตฺถ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ประโยชน์แก่อันบังเกิด แจก เหมือน ปุริส เช่น จ.เอก. นิพฺพตฺตนตฺถาย เพื่อ ประโยชน์แก่อันบังเกิด เป็นจตุตถีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิพฺพตฺตนสฺส อตฺโถ = นิพฺพตฺตนตฺโถ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺตนสมตฺถ-->> คำแปล --->>ว. อันสามารถในอันให้บังเกิด นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นิพฺพตฺตนสมตฺถํ (กมฺมํ) อ. กรรม อันสามารถในอันให้บังเกิด เป็น สัตตมีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิพฺพตฺตเน สมตฺถํ = นิพฺพตฺตนสมตฺถํ (กมฺมํ)

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺตนิพฺพตฺตฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่แห่ง…ทั้ง บังเกิดแล้วทั้งบังเกิดแล้ว แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. นิพฺพตฺตนิพฺพตฺตฏฺาเน ในที่แห่ง…ทั้ง บังเกิดแล้วทั้งบังเกิดแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีวิเสสโนภยบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.โนภย.กัม.วิ. นิพฺพตฺโต จ นิพฺพตฺโต จ = นิพฺพตฺตนิพฺพตฺโต (ปุคฺคโล) ฉ.ตัป.วิ. นิพฺพตฺตนิพฺพตฺตสฺส านํ = นิพฺพตฺต นิพฺพตฺตฏฺานํ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺตนุปาย-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อุบายเป็นเหตุบังเกิด แจก เหมือน ปุริส ทุ.เอก. นิพฺพตฺตนุปายํ ซึ่งอุบาย เป็นเหตุบังเกิด เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารย สมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป กรณสาธนะ เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.กรณ. วิ. นิพฺพตฺตติ เอเตนาติ นิพฺพตฺตโน (อุปาโย) เขา ย่อมบังเกิด ด้วยอุบายนั่น เหตุนั้น อุบายนั่น ชื่อว่า นิพฺพตฺตโนๆ เป็นเหตุบังเกิด วิ.บุพ.กัม.วิ. นิพฺพตฺตโน อุปาโย = นิพฺพตฺตนุปาโย

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺตนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น พาลา อ. คนพาล ท.) ย่อม บังเกิด นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจ อุปสัค แปลว่า บังเกิด + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ แปลง ว ต้นธาตุเป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูปเป็น นิพฺพตฺตนฺติ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺตนฺตุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น วาหนานิ อ. พาหนะ ท.) จงบังเกิด นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วย อำนาจอุปสัค แปลว่า บังเกิด + อ ปัจจัยใน กัตตุวาจก + อนฺตุ ปัญจมีวิภัตติ แปลง ว ต้นธาตุเป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูปเป็น นิพฺพตฺตนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺตภาว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความที่แห่ง…เป็นผู้บังเกิด แล้ว แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิพฺพตฺตภาโว อ. ความที่แห่ง…เป็นผู้บังเกิดแล้ว เป็นฉัฏฐี ตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิพฺพตฺตสฺส ภาโว = นิพฺพตฺตภาโว

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺตภิกฺขุ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ภิกษุผู้บังเกิดแล้ว แจก เหมือน ครุ เช่น ป.เอก. นิพฺพตฺตภิกฺขุ อ. ภิกษุ ผู้บังเกิดแล้ว เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารย สมาส วิ.ว่า นิพฺพตฺโต ภิกฺขุ = นิพฺพตฺตภิกฺขุ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺตสตฺต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สัตว์ผู้บังเกิดแล้ว แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. นิพฺพตฺตสตฺตา อ. สัตว์ ผู้บังเกิดแล้ว ท. เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารย สมาส วิ.ว่า นิพฺพตฺตา สตฺตา = นิพฺพตฺตสตฺตา

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น มาณโว อ. มาณพ) บังเกิดแล้ว นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจ อุปสัค แปลว่า บังเกิด + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง ว ต้นธาตุเป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิพฺพตฺติ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺติตุกาม-->> คำแปล --->>ว. ผู้ใคร่เพื่ออันบังเกิด เป็นจตุตถี ตัปปุริสสมาส ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิพฺพตฺติตุกาโม (ปุคฺคโล) อ. บุคคล ผู้ใคร่ เพื่ออันบังเกิด วิ.ว่า นิพฺพตฺติตุ กาโม = นิพฺพตฺติตุกาโม (ปุคฺคโล) [ลบนิคคหิตบทหน้า]

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺติตฺวา-->> คำแปล --->>ก. บังเกิดแล้ว นิ + วตฺต ธาตุ ใน ความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า บังเกิด + ตฺวา ปัจจัย แปลง ว ต้นธาตุเป็น พ ซ้อน พฺ หน้า ธาตุ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิพฺพตฺติตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺติสฺสติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น มาณโว อ. มาณพ) จัก บังเกิด นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วย อำนาจอุปสัค แปลว่า บังเกิด + อ ปัจจัยใน กัตตุวาจก + สฺสติ ภวิสสันติวิภัตติ แปลง ว ต้นธาตุเป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิพฺพตฺติสฺสติ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺตึสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชนา อ. ชน ท.) บังเกิดแล้ว นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า บังเกิด + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง ว ต้นธาตุเป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ แปลง อุ เป็น อึสุ สำเร็จรูปเป็น นิพฺพตฺตึสุ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺเตตพฺพ-->> คำแปล --->>ก. อัน…พึงให้บังเกิด นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า บังเกิด + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตพฺพ ปัจจัยเป็นเหตุกัมมวาจก แปลง ว ต้นธาตุเป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ได้รูปเป็น นิพฺพตฺเตตพฺพ ดู อชานิตพฺพ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺเตตุ-->> คำแปล --->>น. อ.อันให้บังเกิด, เพื่ออันให้บังเกิด นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า บังเกิด + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย แปลง ว ต้นธาตุเป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิพฺพตฺเตตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺเตตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้บังเกิดแล้ว นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า บังเกิด + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย แปลง ว ต้นธาตุเป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิพฺพตฺเตตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺเตยฺย-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ภิกฺขุ อ. ภิกษุ) พึงบังเกิด นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า บังเกิด + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + เอยฺย สัตตมีวิภัตติ แปลง ว ต้นธาตุเป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูปเป็น นิพฺพตฺเตยฺย

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺเตยฺยาม-->> คำแปล --->>ก. (มยํ อ. เรา ท.) ยัง…พึงให้ บังเกิด นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วย อำนาจอุปสัค แปลว่า บังเกิด + เณ ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก + เอยฺยาม สัตตมีวิภัตติ แปลง ว ต้นธาตุเป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ เป็น นิพฺพตฺเต + เอยฺยาม ลบ เอ ที่ เต สำเร็จรูป เป็น นิพฺพตฺเตยฺยาม

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺเตยฺยํ-->> คำแปล --->>๑ ก. (อหํ อ. เรา) พึงบังเกิด นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า บังเกิด + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + เอยฺยํ สัตตมีวิภัตติ แปลง ว ต้นธาตุเป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูปเป็น นิพฺพตฺเตยฺยํ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺเตยฺยํ-->> คำแปล --->>๒ ก. (อหํ อ. เรา) ยัง…พึงให้บังเกิด นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า บังเกิด + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + เอยฺยํ สัตตมีวิภัตติ แปลง ว ต้นธาตุเป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ เป็น นิพฺพตฺเต + เอยฺย ลบ เอ ที่ เต สำเร็จรูปเป็น นิพฺพตฺเตยฺยํ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺเตสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เทวทตฺโต อ. พระเทวทัต) ยัง…ให้บังเกิดแล้ว นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็น ไป ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า บังเกิด + เณ ปัจจัย ในเหตุกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง ว ต้นธาตุเป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิพฺพตฺเตสิ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพตฺเตสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชฏิลา อ. ชฏิล ท.) ยัง…ให้ บังเกิดแล้ว นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วย อำนาจอุปสัค แปลว่า บังเกิด + เณ ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง ว ต้นธาตุ เป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม สำเร็จรูปเป็น นิพฺพตฺเตสุ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพนฺธิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เสฏฺปุตฺโต อ. บุตรของเศรษฐี) หน่วงเหนี่ยวแล้ว นิ + พนฺธ ธาตุ ในความผูก ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า หน่วงเหนี่ยว + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิพฺพนฺธิ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. พระนิพพาน แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิพฺพานํ ซึ่งพระนิพพาน

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพานคมนํ-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (มคฺคํ) ยังหนทาง อันเป็น เครื่องถึงซึ่งพระนิพพาน มาจาก นิพฺพาน บทหน้า + คม ธาตุ ในความถึง + ยุ ปัจจัย แปลง ยุ เป็น อน ได้รูปเป็น นิพฺพานคมน แปลว่า เป็นเครื่องถึงซึ่งพระนิพพาน เป็นกัตตุรูป กรณสาธนะ วิ.ว่า นิพฺพานํ คจฺฉนฺติ เอเตนาติ นิพฺพานคมโน (มคฺโค) สัตว์ ท. ย่อมถึง ซึ่ง พระนิพพาน ด้วยหนทางนั่น เหตุนั้น หนทางนั่น ชื่อว่า นิพฺพานคมโนๆ เป็นเครื่องถึงซึ่ง พระนิพพาน

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพานคามินี-->> คำแปล --->>ว.,อิต. (ปฏิปทา) อ. ปฏิปทา อัน ยังสัตว์ให้ถึงซึ่งพระนิพพานโดยปกติ มาจาก นิพฺพาน บทหน้า + คม ธาตุ ในความถึง + ณี ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณี ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อี อิต. แปลง อี เป็น อินี ได้รูป เป็น นิพฺพานคามินี แปลว่า อันยังสัตว์ให้ถึงซึ่ง พระนิพพานโดยปกติ เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ ลงในอรรถแห่งตัสสีละ วิ.ว่า (สตฺตํ) นิพฺพานํ คจฺฉาเปติ สีเลนาติ นิพฺพานคามินี (ปฏิปทา) ปฏิปทาใด ยังสัตว์ ย่อมให้ถึง ซึ่งพระนิพพาน โดยปกติ เหตุนั้น ปฏิปทานั้น ชื่อว่า นิพฺพาน- คามินีๆ อันยังสัตว์ให้ถึงซึ่งพระนิพพานโดย ปกติ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพานคามิมคฺค-->> คำแปล --->>น.,ปุ. หนทางอันยังสัตว์ให้ ถึงซึ่งพระนิพานโดยปกติ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นิพฺพานคามิมคฺคํ ยังหนทางอัน ยังสัตว์ให้ถึงซึ่งพระนิพานโดยปกติ เป็นวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส มี ณี ปัจจัย กัตตุรูป กัตตุสาธนะ ลงในอรรถแห่งตัสสีละ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ณี.กัต.กัต.วิ. (สตฺตํ) นิพฺพานํ คจฺฉาเปติ สีเลนาติ นิพฺพานคามี (มคฺโค) หนทางใด ยังสัตว์ ย่อมให้ถึง ซึ่ง พระนิพพาน โดยปกติ เหตุนั้น หนทางนั้น ชื่อว่า นิพฺพานคามีๆ อันยังสัตว์ให้ถึงซึ่งพระนิพพาน โดยปกติ วิ.บุพ.กัม.วิ. นิพฺพานคามี มคฺโค = นิพฺพานคามิมคฺโค

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพานธาตุ-->> คำแปล --->>น.,อิต. นิพพานธาตุ แจกเหมือน รชฺชุ เช่น ต.เอก. นิพฺพานธาตุยา ด้วย นิพพานธาตุ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพาปยิ-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้ดับแล้ว นิ + วา ธาตุ ใน ความไป ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า ดับ + ณาปย ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง ว แห่ง วา ธาตุ เป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาปย รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูป เป็น นิพฺพาปยิ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพายิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น สรีรํ อ. สรีระ) ดับแล้ว นิ + วา ธาตุ ในความไป ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า ดับ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง ว แห่ง วา ธาตุ เป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูป เป็น นิพฺพายิ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพาเปตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้ดับแล้ว นิ + วา ธาตุ ใน ความไป ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า ดับ + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย แปลง ว แห่ง วา ธาตุ เป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น นิพฺพาเปตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพาเปตํุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันยัง…ให้ดับ, เพื่ออันให้ดับ นิ + วา ธาตุ ในความไป ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า ดับ + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตํุ ปัจจัย แปลง ว แห่ง วา ธาตุ เป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น นิพฺพาเปตุ ดู อาคนฺตํุ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพาเปสฺสาม-->> คำแปล --->>ก. (มยํ อ. เรา ท.) ยัง…จักให้ ดับ นิ + วา ธาตุ ในความไป ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า ดับ + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + สฺสาม ภวิสสันติวิภัตติ แปลง ว แห่ง วา ธาตุ เป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น นิพฺพาเปสฺสาม

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพิการ-->> คำแปล --->>ว. มีวิการออกแล้ว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. นิพฺพิการา (สปฺปุริสา) อ. สัตบุรุษ ท. ผู้มีวิการออกแล้ว เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส วิ.ว่า นิกฺขนฺโต วิกาโร เยสํ เต นิพฺพิการา (สปฺปุริสา) วิการ ของสัตบุรุษ ท. เหล่าใด ออกไป แล้ว สัตบุรุษ ท. เหล่านั้น ชื่อว่าผู้มีวิการออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพิชฺชิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. เบื่อหน่ายแล้ว นิ + วิท ธาตุ ใน ความยินดี ด้วยอำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า เบื่อหน่าย + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย แปลง ว แห่ง วิท ธาตุ เป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ แปลง ท ที่สุดธาตุ กับ ย ปัจจัย เป็น ชฺช ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิพฺพิชฺชิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพิทฺธคตฺโต-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (มกฺกโฏ) อ. ลิง ผู้มีตัวอัน ตอไม้แทงแล้ว เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส วิ.ว่า นิพฺพิทฺธํ คตฺตํ ยสฺส โส นิพฺพิทฺธ- คตฺโต (มกฺกโฏ) ตัว ของลิงใด อันตอไม้แทง แล้ว ลิงนั้น ชื่อว่าผู้มีตัวอันตอไม้แทงแล้ว แจก เหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพิทฺธปิงฺคล-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้มีนัยน์ตาทั้งเหลือก ทั้งเหลือง แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิพฺพิทฺธปิงฺคโล (ปุริโส) อ. บุรุษ ผู้มีนัยน์ตาทั้ง เหลือกทั้งเหลือง เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส มีวิเสสโนภยบท กัมมธารยสมาส เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.โนภย.กัม. วิ. นิพฺพิทฺธญฺจ ปิงฺคลญฺจ = นิพฺพิทฺธปิงฺคลํ (อกฺขิ) ฉ.ตุล.วิ. นิพฺพิทฺธปิงฺคลํ อกฺขิ ยสฺส โส นิพฺพิทฺธปิงฺคโล (ปุริโส) นัยน์ตา ของบุรุษใด ทั้งเหลือกทั้งเหลือง บุรุษนั้น ชื่อว่าผู้มีนัยน์ตา ทั้งเหลือกทั้งเหลือง [นิพฺพิทฺธปิงฺคลกฺขิ บทสมาส ลบ อกฺขิ เป็น นิพฺพิทฺธปิงฺคโล]

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพินฺทิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. เบื่อหน่ายแล้ว นิ + วิท ธาตุ ใน ความยินดี ด้วยอำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า เบื่อหน่าย + ตฺวา ปัจจัย แปลง ว แห่ง วิท ธาตุ เป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ ลงนิคคหิตอาคมที่ พยัญชนะต้นธาตุ แล้วแปลงนิคคหิตเป็น นฺ เพราะ ท อยู่หลัง สำเร็จรูปเป็น นิพฺพินฺทิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพินฺน-->> คำแปล --->>ก. เบื่อหน่ายแล้ว นิ + วิท ธาตุ ในความ ยินดี ด้วยอำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า เบื่อหน่าย + ต ปัจจัย แปลง ว แห่ง วิท ธาตุ เป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ แปลง ต เป็น นฺน ลบ ท ที่สุด ธาตุสำเร็จรูปเป็น นิพฺพินฺน ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิพฺพินฺโน (เสฏฺ) อ. เศรษฐี เบื่อหน่ายแล้ว อิต. ลง อา เครื่องหมายอิตถีลิงค์ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. นิพฺพินฺนา (เถรี) อ. พระเถรี เบื่อหน่ายแล้ว นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นิพฺพินฺนํ (หทยํ) อ. ใจ เบื่อหน่ายแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพินฺนหทโย-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (สตฺถา) อ. พระศาสดา ผู้มี พระทัยอันเบื่อหน่ายแล้ว เป็นฉัฏฐีตุลยาธิ กรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นิพฺพินฺนํ หทยํ ยสฺส โส นิพฺพินฺนหทโย (สตฺถา) พระทัย ของพระ- ศาสดาใด เบื่อหน่ายแล้ว พระศาสดานั้น ชื่อว่า ผู้มีพระทัยอันเบื่อหน่ายแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพิริย-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีความเพียรออกแล้ว ปุ. แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิพฺพิริโย (ปุคฺคโล) อ. บุคคล ผู้มีความเพียรออกแล้ว เป็นฉัฏฐีตุลยาธิ กรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นิกฺขนฺตํ วิริยํ ยสฺส โส นิพฺพิริโย (ปุคฺคโล) ความเพียร ของบุคคลใด ออกไปแล้ว บุคคลนั้น ชื่อว่าผู้มีความเพียรออก แล้ว [แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ]

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพิเสวน-->> คำแปล --->>ว. มีความเสพผิดออกแล้ว นปุ. แจก เหมือน กุล เช่น ป.เอก. นิพฺพิเสวนํ (จิตฺตํ) อ. จิต มีความเสพผิดออกแล้ว เป็นปัญจมีตุลยาธิกรณ พหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นิกฺขนฺตา วิเสวนา ยสฺมา ตํ นิพฺพิเสวนํ (จิตฺตํ) ความเสพผิด ออกไปแล้ว จากจิตใด จิตนั้น ชื่อว่ามีความเสพผิดออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพุต-->> คำแปล --->>ก. ดับแล้ว นิ + วา ธาตุ ในความไป ด้วย อำนาจอุปสัค แปลว่า ดับ + ต ปัจจัย แปลง ว แห่ง วา ธาตุ เป็น พ ซ้อน พฺ หน้าธาตุ รัสสะ อา ที่ วา ธาตุ เป็น อ แปลง อ เป็น อุ ได้รูปเป็น นิพฺพุต ดู นิพฺพินฺน

ศัพท์บาลี --->>นิพฺพุตปท-->> คำแปล --->>น.,นปุ. บทว่าดับแล้ว แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิพฺพุตปทํ ซึ่งบทว่าดับแล้ว เป็น สัมภาวนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นิพฺพุตํ อิติ ปทํ = นิพฺพุตปทํ

ศัพท์บาลี --->>นิพฺภย-->> คำแปล --->>ว. มีความกลัวออกแล้ว นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นิพฺภยํ (มรณํ) อ. ความตาย มี ความกลัวออกแล้ว เป็นปัญจมีตุลยาธิกรณพหุพ พิหิสมาส วิ.ว่า นิกฺขนฺตํ ภยํ ยสฺมา ตํ นิพฺภยํ (มรณํ) ความกลัว ออกไปแล้ว จากความตายใด ความตายนั้น ชื่อว่ามีความกลัวออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิพฺเพมติก-->> คำแปล --->>ว. ผู้ประกอบแล้วด้วยความสงสัย ออกแล้ว นิ + วิมติ ศัพท์ ความเคลือบแคลง, ความสงสัย + ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต ใช้ แทน นิยุตฺต = ประกอบแล้ว แปลง ว แห่ง วิมติ เป็น พ ซ้อน พฺ ด้วยอำนาจ ณิก ปัจจัย วิการ อิ ที่ พิมติ เป็น เอ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อิก ได้รูปเป็น นิพฺเพมติก ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิพฺเพมติโก (ปุคฺคโล) อ. บุคคล ผู้ประกอบแล้ว ด้วยความสงสัยออกแล้ว ลง ณิก ปัจจัย ใน ตรตฺยาทิตัทธิต มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยม สมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. นิกฺขนฺตา วิมติ = นิพฺพิมติ ความ สงสัยออกแล้ว ณิก.ตรตฺยา.วิ. นิพฺพิมติยา นิยุตฺโต = นิพฺเพมติโก (ปุคฺคโล) บุคคลผู้ประกอบแล้ว ด้วยความสงสัย ออกแล้ว ชื่อว่า นิพฺเพมติโกๆ ผู้ประกอบแล้วด้วยความสงสัยออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิมนฺตน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. การนิมนต์ แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นิมนฺตนํ อ. การนิมนต์ คำว่า นิมนฺตน มาจาก นิ + มนฺต ธาตุ ในความปรึกษา แปล รวมกับ นิ ว่า นิมนต์ + ยุ ปัจจัย แปลง ยุ เป็น อน ได้รูปเป็น นิมนฺตน แปลว่าการนิมนต์ เป็น ภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า นิมนฺตนํ = นิมนฺตนํ การนิมนต์ ชื่อว่า นิมนฺตนํๆ การนิมนต์

ศัพท์บาลี --->>นิมนฺตนฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่เป็นที่นิมนต์ แจก เหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิมนฺตนฏฺานํ สู่ที่เป็น ที่นิมนต์ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ.วิ. นิมนฺเตติ เอตฺถาติ นิมนฺตนํ (านํ) เขา ย่อมนิมนต์ ในที่นั่น เหตุนั้น ที่นั่น ชื่อว่า นิมนฺตนํๆ เป็นที่นิมนต์ วิ.บุพ.กัม.วิ. นิมนฺตนํ านํ = นิมนฺตนฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ]

ศัพท์บาลี --->>นิมนฺตนตฺถ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ประโยชน์แก่การทูลนิมนต์ แจกเหมือน ปุริส เช่น จ.เอก. นิมนฺตนตฺถาย เพื่อประโยชน์แก่การทูลนิมนต์ เป็นจตุตถีตัปปุริส สมาส วิ.ว่า นิมนฺตนสฺส อตฺโถ = นิมนฺตนตฺโถ

ศัพท์บาลี --->>นิมนฺตยึสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ภริยาโย อ. ภรรยา ท.) ทูล นิมนต์แล้ว นิ + มนฺต ธาตุ ในความปรึกษา แปลรวมกับ นิ ว่า นิมนต์ + ณย ปัจจัยใน กัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้ แต่ ย แปลง อุ เป็น อึสุ สำเร็จรูปเป็น นิมนฺตยึสุ

ศัพท์บาลี --->>นิมนฺตาเปติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ครหทินฺโน อ. ครหทิน) ยัง… ย่อมให้นิมนต์ นิ + มนฺต ธาตุ ในความปรึกษา แปลรวมกับ นิ ว่า นิมนต์ + ณาเป ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้ แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น นิมนฺตาเปติ

ศัพท์บาลี --->>นิมนฺตาเปตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง...ให้นิมนต์แล้ว, ให้ทูล นิมนต์แล้ว, ให้เชิญแล้ว นิ + มนฺต ธาตุ ในความ ปรึกษา แปลรวมกับ นิ ว่า นิมนต์ + ณาเป ปัจจัย ในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น นิมนฺตาเปตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิมนฺตาเปสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ภริยาโย อ. ภรรยา ท.) ยัง… ให้ทูลนิมนต์แล้ว นิ + มนฺต ธาตุ ในความปรึกษา แปลรวมกับ นิ ว่า นิมนต์ + ณาเป ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้ แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น นิมนฺตาเปสุ

ศัพท์บาลี --->>นิมนฺติต-->> คำแปล --->>ก. อัน…นิมนต์แล้ว นิ + มนฺต ธาตุ ใน ความปรึกษา แปลรวมกับ นิ ว่า นิมนต์ + ต ปัจจัย ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น นิมนฺติต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>นิมนฺติตฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่แห่ง…อัน… เชื้อเชิญแล้ว แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. นิมนฺติตฏฺาเน ในที่แห่งตนอันมหาชนเชื้อเชิญ แล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิมนฺติตสฺส านํ = นิมนฺติตฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ]

ศัพท์บาลี --->>นิมนฺติตนิมนฺติตภิกฺขุ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ภิกษุอัน…ทั้ง นิมนต์แล้วทั้งนิมนต์แล้ว แจกเหมือน ครุ เช่น จ.พหุ. นิมนฺติตนิมนฺติตภิกฺขูนํ แก่ภิกษุอันตน ทั้งนิมนต์แล้วทั้งนิมนต์แล้ว ท. เป็นวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส มีวิเสสโนภยบท กัมม ธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.โนภย.กัม.วิ. นิมตฺติตา จ นิมนฺติตา จ = นิมนฺติตนิมนฺติตา (ภิกฺขู) วิ.บุพ.กัม.วิ. นิมนฺติต- นิมนฺติตา ภิกฺขู = นิมนฺติตนิมนฺติตภิกฺขู

ศัพท์บาลี --->>นิมนฺติยมาน-->> คำแปล --->>ก. อัน…ทรงเชื้อเชิญอยู่ นิ + มนฺต ธาตุ ในความปรึกษา ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า เชื้อเชิญ + อิ อาคม หน้า ย ปัจจัยในกัมมวาจก + มาน ปัจจัย ได้รูปเป็น นิมนฺติยมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>นิมนฺเตติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น สิริคุตฺโต อ. สิริคุต) ย่อมนิมนต์ นิ + มนฺต ธาตุ ในความปรึกษา แปลรวมกับ นิ ว่า นิมนต์ + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมา นาวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิมนฺเตติ

ศัพท์บาลี --->>นิมนฺเตตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันนิมนต์, เพื่ออันทูลนิมนต์ นิ + มนฺต ธาตุ ในความปรึกษา แปลรวมกับ นิ ว่า นิมนต์ + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ได้รูปเป็น นิมนฺเตตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นิมนฺเตตฺวา-->> คำแปล --->>ก. นิมนต์แล้ว, เชื้อเชิญแล้ว นิ + มนฺต ธาตุ ในความปรึกษา แปลรวมกับ นิ ว่า นิมนต์ + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิมนฺเตตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิมนฺเตสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ปณฺฑิตปุริโส อ. บุรุษผู้เป็น บัณฑิต) นิมนต์แล้ว นิ + มนฺต ธาตุ ในความ ปรึกษา แปลรวมกับ นิ ว่า นิมนต์ + เณ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ลบ ณ เหลือ ไว้แต่ เอ ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูป เป็น นิมนฺเตสิ

ศัพท์บาลี --->>นิมนฺเตสึ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) นิมนต์แล้ว นิ + มนฺต ธาตุ ในความปรึกษา แปลรวมกับ นิ ว่า นิมนต์ + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อึ อัชชัตตนีวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม สำเร็จรูปเป็น นิมนฺเตสึ

ศัพท์บาลี --->>นิมนฺเตหิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จงนิมนต์ นิ + มนฺต ธาตุ ในความปรึกษา แปลรวมกับ นิ ว่า นิมนต์ + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิมนฺเตหิ

ศัพท์บาลี --->>นิมิตฺต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. นิมิต แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิมิตฺตํ ซึ่งนิมิต

ศัพท์บาลี --->>นิมุคฺค-->> คำแปล --->>ก. จมลงแล้ว นิ = ลง + มุชฺช ธาตุ ในความ จม มี นิ อยู่หน้า แปลว่า จมลง + ต ปัจจัย ลบ ช ที่สุดธาตุ แปลง ต เป็น น แปลง ชฺ กับ น เป็น คฺค ได้รูปเป็น นิมุคฺค ดู นิพฺพินฺน

ศัพท์บาลี --->>นิมุชฺชนฺต-->> คำแปล --->>ก. จมลงอยู่ นิ = ลง + มุชฺช ธาตุ ใน ความดำ, ความจม มี นิ อยู่หน้า แปลว่า ดำลง, จมลง + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ได้รูปเป็น นิมุชฺชนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิมุชฺชาเปติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น มจฺจุราชา อ. มัจจุผู้พระราชา) ยัง…ย่อมให้จมลง นิ = ลง + มุชฺช ธาตุ ในความดำ, ความจม มี นิ อยู่หน้า แปลว่า ดำลง, จมลง + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป ได้รูป เป็น นิมุชฺชาเปติ

ศัพท์บาลี --->>นิมุชฺชิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น มหานาโม อ. เจ้าศากยะพระนามว่า มหานาม) ดำลงแล้ว นิ = ลง + มุชฺช ธาตุ ในความดำ, ความจม มี นิ อยู่หน้า แปลว่า ดำลง, จมลง + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิมุชฺชิ

ศัพท์บาลี --->>นิมุชฺชิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ดำลงแล้ว นิ = ลง + มุชฺช ธาตุ ในความดำ, ความจม มี นิ อยู่หน้า แปลว่า ดำลง, จมลง + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิมุชฺชิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิมฺพโกส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ชายคา แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. นิมฺพโกเส ที่ชายคา

ศัพท์บาลี --->>นิมฺมกฺขิก-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (รวงแห่งผึ้ง) อันมีตัวผึ้งออก ไปแล้ว แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิมฺมกฺขิกํ (มธุปฏลํ) ซึ่งรวงแห่งผึ้ง อันมีตัวผึ้งออกไปแล้ว เป็นปัญจมีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นิคฺคตา มกฺขิกา ยสฺมา ตํ นิมฺมกฺขิกํ (มธุปฏลํ) ตัวผึ้ง ท. ออกไปแล้ว จากรวงแห่งผึ้งใด รวง แห่งผึ้งนั้น ชื่อว่าอันมีตัวผึ้งออกไปแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิมฺมกฺขิกมธุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. นํ้าผึ้งมีแมลงออกไปแล้ว แจกเหมือน วตฺถุ เช่น ทุ.เอก. นิมฺมกฺขิกมธุ ซึ่ง นํ้าผึ้งมีแมลงออกไปแล้ว เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีปัญจมีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ปญฺจ.ตุล.วิ. นิคฺคตา มกฺขิกา ยสฺมา ตํ นิมฺมิกฺขิกํ (มธุ) แมลง ท. ออกไปแล้ว จากนํ้าผึ้งใด นํ้าผึ้งนั้น ชื่อว่ามีแมลงออกไปแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิมฺมล-->> คำแปล --->>ว. มีมลทินออกแล้ว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิมฺมโล (ปาสาโณ) อ. แผ่นหิน มี มลทินอันออกแล้ว เป็นปัญจมีตุลยาธิกรณพหุพ พิหิสมาส วิ.ว่า นิคฺคตํ มลํ ยสฺมา โส นิมฺมโล (ปาสาโณ) มลทิน ออกไปแล้ว จากแผ่นหินใด แผ่นหินนั้น ชื่อว่ามีมลทินออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิมฺมาตาปิติก-->> คำแปล --->>ว. มีมารดาและบิดาออกแล้ว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิมฺมาตาปิติโก (ทารโก) อ. เด็ก ผู้มีมารดาและบิดาออกแล้ว เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีอสมาหาร ทวันทวสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทวัน.วิ. มาตา จ ปิติโก จ = มาตาปิติกา มารดาและบิดา ท. ฉ.ตุล.วิ. นิกฺขนฺตา มาตาปิติกา ยสฺส โส นิมฺมาตาปิติโก (ทารโก) มารดาและ บิดา ท. ของเด็กใด ออกแล้ว เด็กนั้น ชื่อว่ามี มารดาและบิดาอกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิมฺมาทยิสฺสติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น มาโน อ. มานะ) จักคลาย นิ + มท ธาตุ ในความมัวเมา, ประมาท ด้วย อำนาจอุปสัค แปลว่า คลาย + ณย ปัจจัยใน กัตตุวาจก + สฺสติ ภวิสสันติวิภัตติ ลง อิ อาคม ซ้อน มฺ หน้าธาตุ ลบ ณ เหลือไว้แต่ ย สำเร็จรูป เป็น นิมฺมาทยิสฺสติ

ศัพท์บาลี --->>นิมฺมิตกาล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กาลแห่ง…อัน…เนรมิตแล้ว แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. นิมฺมิตกาเล ในกาล แห่ง…อัน…เนรมิตแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิมฺมิตสฺส กาโล = นิมฺมิตกาโล

ศัพท์บาลี --->>นิมฺมินิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. เนรมิตแล้ว นิ + มาน ธาตุ ในความ ทดลอง, พิจารณา แปลรวมกับ นิ ว่า เนรมิต + ตฺวา ปัจจัย ซ้อน มฺ หน้าธาตุ แปลง อา ที่ มาน ธาตุ เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิมฺมินิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิมฺมิลิตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันหลับ, เพื่ออันหลับ นิ + มิล ธาตุ ในความหลับ + ตุ ปัจจัย ซ้อน มฺ หน้าธาตุ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิมฺมิลิตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นิมฺมิเลตฺวา-->> คำแปล --->>ก. หลับแล้ว นิ + มิล ธาตุ ในความ หลับ + เอ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ซ้อน มฺ หน้าธาตุ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิมฺมิเลตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิมฺมเถตฺวา-->> คำแปล --->>ก. สีแล้ว นิ + มถ ธาตุ ในความกวน, ความสี + เอ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ซ้อน มฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูปเป็น นิมฺมเถตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิยต-->> คำแปล --->>ก. เที่ยงแล้ว, แน่นอนแล้ว นิ + ยม ธาตุ ในความเที่ยง, ความแน่นอน, ความกำหนด + ต ปัจจัย ลบ ม ที่สุดธาตุ ได้รูปเป็น นิยต ดู นิพฺพินฺน

ศัพท์บาลี --->>นิยาม-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ทำนอง, ความแน่นอน, ความ กำหนด แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. นิยาเมน โดยทำนอง, โดยความแน่นอน, โดยความกำหนด

ศัพท์บาลี --->>นิยุตฺต-->> คำแปล --->>ก. ควรแล้ว นิ + ยุช ธาตุ ในความควร + ต ปัจจัย แปลง ช ที่สุดธาตุ เป็น ตฺ ได้รูปเป็น นิยุตฺต ดู นิพฺพินฺน

ศัพท์บาลี --->>นิยฺยาทยึสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น มาตาปิตโร อ. มารดาและ บิดา ท.) มอบให้แล้ว นิ + ยต ธาตุ ในความมอบให้ + ณย ปัจจัย ในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ ซ้อน ย หน้าธาตุ แปลง ต ที่สุดธาตุ เป็น ท ด้วย อำนาจ ณย ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ ย แปลง อุ เป็น อึสุ สำเร็จรูปเป็น นิยฺยาทยึสุ

ศัพท์บาลี --->>นิยฺยาทิต-->> คำแปล --->>ก. อัน…มอบให้แล้ว นิ + ยต ธาตุ ในความมอบให้ + เณ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + ต ปัจจัยซ้อน ย หน้าธาตุ แปลง ต ที่สุดธาตุ เป็น ท ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ เป็น นิยฺยาเท + อิ + ต ลบ สระหน้าคือ เอ ที่ เท ได้รูปเป็น นิยฺยาทิต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>นิยฺยาเทตฺวา-->> คำแปล --->>ก. มอบให้แล้ว นิ + ยต ธาตุ ใน ความมอบให้ + เณ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ซ้อน ย หน้าธาตุ แปลง ต ที่สุดธาตุ เป็น ท ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิยฺยาเทตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิยฺยาเทถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท., อ. พระองค์) ขอจงมอบให้ นิ + ยต ธาตุ ในความมอบให้ + เณ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + ถ ปัญจมีวิภัตติ ซ้อน ย หน้าธาตุ แปลง ต ที่สุดธาตุ เป็น ท ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิยฺยาเทถ

ศัพท์บาลี --->>นิยฺยาเทสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ภริยา อ. ภรรยา) มอบให้แล้ว นิ + ยต ธาตุ ในความมอบให้ + เณ ปัจจัย ใน กัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ซ้อน ย หน้าธาตุ แปลง ต ที่สุดธาตุ เป็น ท ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิยฺยาเทสิ

ศัพท์บาลี --->>นิยเมตฺวา-->> คำแปล --->>ก. กำหนดแล้ว นิ + ยม ธาตุ ในความ กำหนด + เอ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย สำเร็จรูปเป็น นิยเมตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิรต-->> คำแปล --->>ก. ยินดีแล้ว นิ + รม ธาตุ ในความยินดี + ต ปัจจัย ลบที่สุดธาตุ ได้รูปเป็น นิรต ดู นิพฺพินฺน

ศัพท์บาลี --->>นิรตฺถก-->> คำแปล --->>ว. มีประโยชน์ออกแล้ว นิ + อตฺถ สระ อยู่หลัง ลง ร อาคม ลง ก สกัด ได้รูปเป็น นิรตฺถก เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส ปุ. แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิรตฺถโก (วาโส) อ. การอยู่ มีประโยชน์ออกแล้ว วิ.ว่า นิคฺคโต อตฺโถ ยสฺส โส นิรตฺถโก (วาโส) ประโยชน์ ของการ อยู่ใด ออกไปแล้ว การอยู่นั้น ชื่อว่ามีประโยชน์ ออกแล้ว นปุ. แจกเหมือน กุล. เช่น ป.เอก. นิรตฺถกํ (โอโลกนํ) อ. การแลดู มีประโยชน์ ออกแล้ว วิ.ว่า นิคฺคโต อตฺโถ ยสฺส ตํ นิรตฺถกํ (โอโลกนํ) ประโยชน์ ของการแลดูใด ออกไปแล้ว การแลดูนั้น ชื่อว่ามีประโยชน์ออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิรนฺตร-->> คำแปล --->>ว. มีระหว่างออกแล้ว นิ + อนฺตร สระอยู่ หลัง ลง ร อาคม เป็น นิรนฺตร เป็นฉัฏฐีตุลยาธิ กรณพหุพพิหิสมาส ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นิรนฺตรํ (กาลํ) ตลอดกาล อันมีระหว่าง ออกแล้ว วิ.ว่า นิคฺคตํ อนฺตรํ ยสฺส โส นิรนฺตโร (กาโล) ระหว่าง ของกาลใด ออกไปแล้ว กาลนั้น ชื่อว่ามีระหว่างออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิรปราธ-->> คำแปล --->>ว. มีความผิดออกแล้ว นิ + อปราธ สระอยู่หลัง ลง ร อาคม เป็น นิรปราธ เป็นฉัฏฐี ตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. นิรปราธา (สามิกา) อ. สามี ท. ผู้มีความผิดออกแล้ว วิ.ว่า นิคฺคโต อปราโธ เยสํ เต นิรปราธา (สามิกา) ความผิด ของ สามี ท. เหล่าใด ออกไปแล้ว สามี ท. เหล่านั้น ชื่อว่าผู้มีความผิดออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิรย-->> คำแปล --->>น.,นปุ. นรก แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิรยํ ซึ่งนรก

ศัพท์บาลี --->>นิรยคามี-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้ไปสู่นรกโดยปกติ มาจาก นิรย + คม ธาตุ ในความไป + ณี ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณี ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อี ได้รูปเป็น นิรยคามี แปลว่า ผู้ไปสู่นรกโดย ปกติ แจกเหมือน เสฏฺ เช่น ป.พหุ. นิรยคามิโน (ชนา) อ. ชน ท. ผู้ไปสู่นรกโดยปกติ วิ.ว่า นิรยํ คจฺฉนฺติ สีเลนาติ นิรยคามิโน (ชนา) ชน ท. เหล่าใด ย่อมไป สู่นรก โดยปกติ เหตุนั้น ชน ท. เหล่านั้น ชื่อว่า นิรยคามิโนๆ ผู้ไปสู่นรกโดยปกติ

ศัพท์บาลี --->>นิรยทุกฺขาทีหิ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (ทุกฺเขหิ) จากทุกข์ ท. มีทุกข์ ในนรกเป็นต้น เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส มีสัตตมีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ตัป.วิ. นิรเย ทุกฺขํ = นิรยทุกฺขํ ทุกข์ในนรก ฉ.ตุล.วิ.วิ นิรยทุกฺขํ อาทิ เยสํ ตานิ นิรยทุกฺขาทีนิ (ทุกฺขานิ) ทุกข์ใน นรก เป็นต้น ของทุกข์ ท. เหล่าใด ทุกข์ ท. เหล่านั้น ชื่อว่ามีทุกข์ในนรกเป็นต้น แจกเหมือน อกฺขิ

ศัพท์บาลี --->>นิรยสนฺตาป-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความร้อนพร้อมในนรก แจก เหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. นิรยสนฺตาเปน เพราะ ความร้อนพร้อมในนรก เป็นสัตตมีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิรเย สนฺตาโป = นิรยสนฺตาโป เฉพาะ ปัญจมีวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ ลง โต ปัจจัย เป็น นิรยสนฺตาปโต บ้าง

ศัพท์บาลี --->>นิรยอคฺคิ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ไฟในนรก แจกเหมือน มุนิ เช่น ส.เอก. นิรยอคฺคิมฺหิ ในไฟในนรก เป็นสัตตมี ตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิรเย อคฺคิ = นิรยอคฺคิ

ศัพท์บาลี --->>นิรวเสส-->> คำแปล --->>ว. มีส่วนเหลือลงออกแล้ว นิ + อวเสส สระอยู่หลัง ลง ร อาคม เป็น นิรวเสส เป็นฉัฏฐี ตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส แจกใน ๓ ลิงค์ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นิรวเสสํ (ปายาสํ) ซึ่งข้าวปายาส มีส่วนเหลือลงออกแล้ว วิ.ว่า นิคฺคตํ อวเสสํ ยสฺส โส นิรวเสโส (ปายาโส) ส่วนเหลือลง ของข้าวปายาสใด ออกไปแล้ว ข้าวปายาสนั้น ชื่อว่ามีส่วนเหลือลงออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิราลย-->> คำแปล --->>ว. มีความอาลัยออกแล้ว นิ + อาลย สระอยู่หลัง ลง ร อาคม เป็น นิราลย เป็นฉัฏฐี ตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส แจกใน ๓ ลิงค์ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. นิราลยา (ภิกฺขู) อ. ภิกษุ ท. ผู้มีความอาลัยออกแล้ว วิ.ว่า นิคฺคโต อาลโย เยสํ เต นิราลยา (ภิกฺขู) ความอาลัย ของภิกษุ ท. เหล่าใด ออกไปแล้ว ภิกษุ ท. เหล่านั้น ชื่อว่าผู้มีความอาลัยออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิราสงฺก-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. มีความรังเกียจออกแล้ว นิ + อาสงฺก สระอยู่หลัง ลง ร อาคม เป็น นิราสงฺก เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส แจกใน ๓ ลิงค์ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิราสงฺโก (จุลฺลกาโล) อ. จุลกาล ผู้มีความรังเกียจออกแล้ว วิ.ว่า นิคฺคโต อาสงฺโก ยสฺส โส นิราสงฺโก (จุลฺลกาโล) ความรังเกียจ ของจุลกาลใด ออก ไปแล้ว จุลกาลนั้น ชื่อว่าผู้มีความรังเกียจออก แล้ว [อาสงฺก =ความรังเกียจ,ความระแวง ปุ.]

ศัพท์บาลี --->>นิราหาร-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. มีอาหารออกแล้ว นิ + อาหาร สระอยู่หลัง ลง ร อาคม เป็น นิราหาร เป็นฉัฏฐี ตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส แจกใน ๓ ลิงค์ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิราหาโร (สปฺโป) อ. งู ตัวมีอาหารอันออกแล้ว วิ.ว่า นิคฺคโต อาหาโร ยสฺส โส นิราหาโร (สปฺโป) อาหาร ของงูใด ออกไปแล้ว งูนั้น ชื่อว่าตัวมีอาหารออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิรุชฺฌนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น สงฺขารา อ. สังขาร ท.) ย่อม ดับไป นิ + รุธ ธาตุ ในความดับ + ย ปัจจัยใน กัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ แปลง ธ ที่สุด ธาตุ กับ ย ปัจจัย เป็น ชฺฌ สำเร็จรูปเป็น นิรุชฺฌนฺติ

ศัพท์บาลี --->>นิรุทก-->> คำแปล --->>ว. มีนํ้าออกแล้ว นิ + อุทก สระอยู่หลัง ลง ร อาคม เป็น นิรุทก เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส แจกใน ๓ ลิงค์ นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. นิรุทเก (ขีเร) ในนํ้านม อันมีนํ้าออกแล้ว เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นิคฺคตํ อุทกํ ยสฺส โส นิรุทกํ (ขีรํ)

ศัพท์บาลี --->>นิรุทกปายาส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ข้าวปายาสอันมีนํ้าออก แล้ว แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นิรุทกปายาสํ ซึ่งข้าวปายาสอันมีนํ้าออกแล้ว เป็นวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส มีปัญจมีตุลยาธิกรณ พหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ปัญจ.ตุล.วิ. นิคฺคตํ อุทกํ ยสฺมา โส นิรุทโก (ปายาโส) วิ.บุพ.กัม.วิ. นิรุทโก ปายาโส = นิรุทกปายาโส

ศัพท์บาลี --->>นิรุปการ-->> คำแปล --->>ว. มีอุปการะออกแล้ว นิ + อุปการ สระอยู่หลัง ลง ร อาคม เป็น นิรุปการ เป็นฉัฏฐี ตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส แจกใน ๓ ลิงค์ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิรุปกาโร (กาโย) อ. กาย มีอุปการะออกแล้ว วิ.ว่า นิคฺคโต อุปกาโร ยสฺส โส นิรุปกาโร (กาโย) อุปการะ ของกายใด ออกไปแล้ว กายนั้น ชื่อว่ามีอุปการะออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิรเปกฺข-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีความเพ่งออกแล้ว นิ + อเปกฺข (อเปกฺขา) สระอยู่หลัง ลง ร อาคม เป็น นิรเปกฺข เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส ปุ. แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. นิรเปกฺขา (ภิกฺขู) อ. ภิกษุ ท. ผู้มีความเพ่งออกแล้ว วิ.ว่า นิคฺคตา อเปกฺขา เยสํ เต นิรเปกฺขา (ภิกฺขู) ความเพ่ง ของภิกษุ ท. เหล่าใด ออกไปแล้ว ภิกษุ ท. เหล่านั้น ชื่อว่าผู้มีความเพ่งออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิลีน-->> คำแปล --->>ก. แอบแล้ว นิ + ลี ธาตุ ในความแอบ, ความ เร้น + ต ปัจจัย แปลง ต เป็น น ได้รูปเป็น นิลีน ดู นิพฺพินฺน

ศัพท์บาลี --->>นิลียิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น หตฺถิมารโก อ. นายควาญช้าง) แอบแล้ว นิ + ลี ธาตุ ในความแอบ, ความเร้น + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิลียิ

ศัพท์บาลี --->>นิลียิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. แอบแล้ว นิ + ลี ธาตุ ในความแอบ, ความเร้น + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิลียิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิลียึสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น อาชีวกา อ. อาชีวก ท.) แอบแล้ว นิ + ลี ธาตุ ในความแอบ, ความเร้น + ย ปัจจัย ในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง อุ เป็น อึสุ สำเร็จรูปเป็น นิลียึสุ

ศัพท์บาลี --->>นิลฺลชฺช-->> คำแปล --->>ว. มีความละอายออกแล้ว ปุ. แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. นิลฺลชฺชา (ชนา) อ. ชน ท. ผู้มีความละอายออกแล้ว เป็นฉัฏฐีตุลยาธิ กรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นิคฺคตา ลชฺชา เยสํ เต นิลฺลชฺชา (ชนา) ความละอาย ของชน ท. เหล่าใด ออกไปแล้ว ชน ท. เหล่านั้น ชื่อว่าผู้มี ความละอายออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิลฺโลหิต-->> คำแปล --->>ว. มีเลือดออกแล้ว นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นิลฺโลหิตํ (สรีรํ) อ. สรีระ มี เลือดออกแล้ว เป็นปัญจมีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส วิ.ว่า นิคฺคตํ โลหิตํ ยสฺมา ตํ นิลฺโลหิตํ (สรีรํ) เลือด ออกไปแล้ว จากสรีระใด สรีระนั้น ชื่อว่ามีเลือดออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺต-->> คำแปล --->>๑ ก. กลับแล้ว นิ + วตุ ธาตุ ในความ เป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + ต ปัจจัย แปลง ตุ ที่สุดธาตุ เป็น ตฺ ได้รูป เป็น นิวตฺต ดู นิพฺพินฺน

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺต-->> คำแปล --->>๒ ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จงกลับ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ ลบ หิ สำเร็จรูปเป็น นิวตฺต

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺตกาเล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ในกาลแห่ง…กลับแล้ว เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิวตฺตสฺส กาโล = นิวตฺตกาโล แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺตถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) จงกลับ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ถ ปัญจมีวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นิวตฺตถ

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺตนกาล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กาลเป็นที่กลับ แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. นิวตฺตนกาเล ในกาลเป็นที่กลับ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ.วิ. นิวตฺตติ เอตฺถาติ นิวตฺตโน (กาโล) วิ.บุพ.กัม.วิ. นิวตฺตโน กาโล = นิวตฺตนกาโล

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺตนฺต-->> คำแปล --->>ก. กลับอยู่, เมื่อกลับ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ได้รูปเป็น นิวตฺตนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺตนฺตุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ภิกฺขู อ. ภิกษุ ท.) จงกลับ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัค สังหารธาตุ แปลว่า กลับ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺตุ ปัญจมีวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นิวตฺตนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺตมาน-->> คำแปล --->>ก. กลับอยู่, เมื่อกลับ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + มาน ปัจจัย ได้รูปเป็น นิวตฺตมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺตสฺสุ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จงกลับ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหาร ธาตุ แปลว่า กลับ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสุ ปัญจมีวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นิวตฺตสฺสุ

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺตาม-->> คำแปล --->>ก. (มยํ อ. เรา ท.) จะกลับ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหาร ธาตุ แปลว่า กลับ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ม วัตตมานาวิภัตติ ม อยู่หลัง ทีฆะ อ ที่สุด ธาตุ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น นิวตฺตาม

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺตาหิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จงกลับ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหาร ธาตุ แปลว่า กลับ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ หิ อยู่หลัง ทีฆะ อ ที่สุด ธาตุ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น นิวตฺตาหิ

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺตาเปตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้กลับแล้ว นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูป เป็น นิวตฺตาเปตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺตาเปสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ภควา อ. พระผู้มีพระภาคเจ้า) ยัง…ให้กลับแล้ว นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนี วิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิวตฺตาเปสิ

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺตาเปสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) ยัง…จักให้กลับ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัค สังหารธาตุ แปลว่า กลับ + ณาเป ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น นิวตฺตาเปสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น สตฺถา อ. พระศาสดา) เสด็จกลับ แล้ว นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจ อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + อ ปัจจัยใน กัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิวตฺติ

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺติต-->> คำแปล --->>ก. อัน…ให้กลับแล้ว นิ + วตฺต ธาตุ ใน ความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ต ปัจจัย เป็นเหตุกัมมวาจก ลง อิ อาคม ลบ ณ เหลือไว้ แต่ เอ เป็น นิวตฺเต + อิ + ต ลบสระหน้าคือ เอ ที่ เต ได้รูปเป็น นิวตฺติต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺติตุกาม-->> คำแปล --->>ว. ผู้ใคร่เพื่ออันกลับ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิวตฺติตุกาโม (กุมาโร) อ. พระกุมาร ผู้ใคร่เพื่ออันกลับ เป็นจตุตถีตัปปุริส สมาส วิ.ว่า นิวตฺติตุ กาโม = นิวตฺติตุกาโม (กุมาโร) [ลบนิคคหิตบทหน้า]

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺติตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันกลับ, เพื่ออันกลับ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + ตุ ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูป เป็น นิวตฺติตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺติตฺวา-->> คำแปล --->>ก. กลับแล้ว นิ + วตฺต ธาตุ ในความ เป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิวตฺติตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺติยมาน-->> คำแปล --->>ก. อัน…ให้กลับอยู่ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อิ อาคมหน้า ย ปัจจัย + มาน ปัจจัยเป็นเหตุ กัมมวาจก ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ เป็น นิวตฺเต + อิ + ย + มาน ลบสระหน้าคือ เอ ที่ เต ได้รูปเป็น นิวตฺติยมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺติสฺสสิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จักกลับ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสสิ ภวิสสันติวิภัตติ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิวตฺติสฺสสิ

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺติสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) จักกลับ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหาร ธาตุ แปลว่า กลับ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิวตฺติสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺตึสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น มนุสฺสา อ. มนุษย์ ท.) กลับแล้ว นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัค สังหารธาตุ แปลว่า กลับ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง อุ เป็น อึสุ สำเร็จรูป เป็น นิวตฺตึสุ

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺถกาสาว-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ผ้ากาสาวะอัน…นุ่งแล้ว แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิวตฺถกาสาวํ ซึ่ง ผ้ากาสาวะอัน…นุ่งแล้ว เป็นวิเสสนบุพพบท กัมม ธารยสมาส วิ.ว่า นิวตฺถํ กาสาวํ = นิวตฺถกาสาวํ

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺถวตฺถ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ผ้าอัน…นุ่งแล้ว ดู นิวตฺถกาสาว

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺถสาฏก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ผ้าสาฎกอัน…นุ่งแล้ว แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิวตฺถสาฏโก อ. ผ้า สาฏกอัน…นุ่งแล้ว เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธาร ยสมาส วิ.ว่า นิวตฺโถ สาฏโก = นิวตฺถสาฏโก

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺเตตพฺพยุตฺตเก-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (ภิกฺขู) ยังภิกษุ ท. ผู้ควรแล้วแก่ความเป็นแห่งภิกษุผู้อัน...พึง ให้กลับ เป็นจตุตถีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริส สมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. นิวตฺเตตพฺพานํ (ภิกฺขูนํ) ภาโว = นิวตฺเตตพฺพภาโว จตุ.ตัป.วิ. นิวตฺเตตพฺพภาวสฺส ยุตฺตกา = นิวตฺเตตพฺพยุตฺตกา (ภิกฺขู) [มัชเฌโลป ลบ ภาว ในท่ามกลาง]

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺเตติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เถโร อ. พระเถระ) ยัง…ย่อมให้ กลับ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจ อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + เณ ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้ แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิวตฺเตติ

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺเตตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันยัง…ให้กลับ, เพื่ออันให้ กลับ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจ อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + เณ ปัจจัยใน เหตุกัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิวตฺเตตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺเตตฺวา-->> คำแปล --->>ก. กลับแล้ว นิ + วตฺต ธาตุ ในความ เป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิวตฺเตตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺเตนฺต-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้กลับอยู่ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ได้รูปเป็น นิวตฺเตนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺเตยฺย-->> คำแปล --->>๑ ก. (เช่น เถโร อ. พระเถระ) ยัง… พึงให้กลับ [ธ. ๔: สารีปุตฺตตฺเถรวตฺถุ หน้า ๖๕] นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัค สังหารธาตุ แปลว่า กลับ + เณ ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก + เอยฺย สัตตมีวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้ แต่ เอ เป็น นิวตฺเต + เอยฺย ลบ เอ ที่ เต สำเร็จรูป เป็น นิวตฺเตยฺย

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺเตยฺย-->> คำแปล --->>๒ ก. (เช่น ปจฺเจกพุทฺโธ อ. พระปัจเจก พุทธเจ้า) พึงกลับ [ธ. ๒: สามาวตีวตฺถุ หน้า ๓๖] นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัค สังหารธาตุ แปลว่า กลับ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + เอยฺย สัตตมีวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นิวตฺเตยฺย

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺเตยฺยาถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) พึงกลับ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัค สังหารธาตุ แปลว่า กลับ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + เอยฺยาถ สัตตมีวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นิวตฺเตยฺยาถ

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺเตยฺยํ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) พึงกลับ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + เอยฺยํ สัตตมีวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นิวตฺเตยฺยํ

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺเตสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น สกฺโก อ. ท้าวสักกะ) ยัง…ให้ กลับแล้ว นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วย อำนาจอุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า กลับ + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิวตฺเตสิ

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺเตสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) ยัง…จักให้กลับ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัค สังหารธาตุ แปลว่า กลับ + เณ ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิวตฺเตสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>นิวตฺเตหิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) ยัง…จงให้กลับ นิ + วตฺต ธาตุ ในความเป็นไป ด้วยอำนาจอุปสัค สังหารธาตุ แปลว่า กลับ + เณ ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิวตฺเตหิ

ศัพท์บาลี --->>นิวาป-->> คำแปล --->>๑ น.,ปุ. ผัก แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นิวาปํ ซึ่งผัก

ศัพท์บาลี --->>นิวาป-->> คำแปล --->>๒ น.,ปุ. กับข้าว แจกเหมือน ปุริส ป.เอก. นิวาโป อ. กับข้าว

ศัพท์บาลี --->>นิวารยิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ตฺวํ อ. ท่าน) ห้ามแล้ว นิ + วร ธาตุ ในความห้าม + ณย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ด้วยอำนาจ ณย ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ ย รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิวารยิ ดู อกริ

ศัพท์บาลี --->>นิวารยิตฺถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) ห้ามแล้ว นิ + วร ธาตุ ในความห้าม + ณย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺถ อัชชัตตนีวิภัตติ ด้วยอำนาจ ณย ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ ย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิวารยิตฺถ

ศัพท์บาลี --->>นิวารเย-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ปุคฺคโล อ. บุคคล) พึงห้าม นิ + วร ธาตุ ในความห้าม + ณย ปัจจัยในกัตตุวาจก + เอยฺย สัตตมีวิภัตติ ด้วยอำนาจ ณย ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ ย ลบ ยฺย เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิวารเย

ศัพท์บาลี --->>นิวาส-->> คำแปล --->>๑ น.,ปุ. การอยู่อาศัย, การพักแรม แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิวาโส อ. การอยู่อาศัย คำว่า นิวาส มาจาก นิ + วส ธาตุ ในความอยู่ + ณ ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ ได้รูปเป็น นิวาส แปลว่า การอยู่อาศัย เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า นิวสนํ = นิวาโส การอยู่อาศัย ชื่อว่า นิวาโสๆ การอยู่อาศัย

ศัพท์บาลี --->>นิวาส-->> คำแปล --->>๒ ว.,นปุ. (ที่) เป็นที่อยู่อาศัย แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิวาสํ (านํ) ซึ่งที่ เป็นที่อยู่ อาศัย คำว่า นิวาส มาจาก นิ + วส ธาตุ ใน ความอยู่ + ณ ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ ได้รูปเป็น นิวาส แปลว่า เป็นที่อยู่อาศัย เป็นกัตตุรูป อธิกรณสาธนะ วิ.ว่า นิวสติ เอตฺถาติ นิวาสํ (านํ) เขา ย่อมอยู่อาศัย ในที่นั่น เหตุนั้น ที่นั่น ชื่อว่า นิวาสํๆ เป็นที่อยู่ อาศัย

ศัพท์บาลี --->>นิวาสน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. การนุ่ง แจกเหมือน กุล เช่น ต.เอก. นิวาเสน ด้วยการนุ่ง เฉพาะปัญจมีวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ ลง โต ปัจจัย เป็น นิวาสนโต บ้าง คำว่า นิวาสน มาจาก นิ + วส ธาตุ ในความนุ่ง + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ยุ ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ แปลง ยุ เป็น อน เป็น นิวาเส + อน ลบสระหน้า คือ เอ ที่ เส ได้รูปเป็น นิวาสน แปลว่า การนุ่ง เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า นิวาสนํ = นิวาสนํ การนุ่ง ชื่อว่า นิวาสนํๆ การนุ่ง

ศัพท์บาลี --->>นิวาสนกณฺณ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. มุมแห่งผ้าเป็นเครื่องนุ่ง แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. นิวาสนกณฺเณ ที่ มุมแห่งผ้าเป็นเครื่องนุ่ง เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป กรณสาธนะ เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.กรณ.วิ. นิวาเสติ เอเตนาติ นิวาสนํ (วตฺถํ) เขา ย่อมนุ่ง ด้วยผ้านั่น เหตุนั้น ผ้านั่น ชื่อว่า นิวาสนํๆ เป็นเครื่องนุ่ง ฉ.ตัป.วิ. นิวาสนสฺส กณฺโณ = นิวาสนกณฺโณ

ศัพท์บาลี --->>นิวาสนฏฺานสทิสํ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (านํ) อ. ที่ เช่นกับ ด้วยที่เป็นที่อยู่อาศัย เป็นตติยาตัปปุริสสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคาะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. นิวาสนํ านํ = นิวาสนฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ] ต.ตัป.วิ. นิวาสนฏฺาเนน สทิสํ = นิวาสนฏฺานสทิสํ (านํ)

ศัพท์บาลี --->>นิวาสนนฺต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ชายแห่งผ้าเป็นเครื่องนุ่ง ดู นิวาสนกณฺณ

ศัพท์บาลี --->>นิวาสนปารุปน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ผ้าเป็นเครื่องนุ่งและ ผ้าเป็นเครื่องห่ม ถ้าเป็นนปุงสกลิงค์ เอกวจนะ เป็นสมาหารทวันทวสมาส แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นิวาสนปารุปนํ อ. ผ้าเป็นเครื่องนุ่งและ ผ้าเป็นเครื่องห่ม วิ.ว่า นิวาสนญฺจ ปารุปนญฺจ = นิวาสนปารุปนํ ถ้าเป็นพหุวจนะ เป็นอสมาหาร ทวันทวสมาส วิ.ว่า นิวาสนญฺจ ปารุปนญฺจ = นิวาสนปารุปนานิ

ศัพท์บาลี --->>นิวาสนรุกฺข-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ต้นไม้เป็นที่อยู่อาศัย แจก เหมือน ปุริส เช่น ฉ.เอก. นิวาสนรุกฺขสฺส ของ ต้นไม้เป็นที่อยู่อาศัย เป็นวิเสสนบุพพบท กัมม ธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ. วิ. นิวสติ เอตฺถาติ นิวาสโน (รุกฺโข) นก ย่อม อยู่อาศัย ที่ต้นไม้นั่น เหตุนั้น ต้นไม้นั้น ชื่อว่า นิวาสโนๆ เป็นที่อยู่อาศัย วิ.บุพ.กัม.วิ. นิวาสโน รุกฺโข = นิวาสนรุกฺโข

ศัพท์บาลี --->>นิวาสาเปตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้นุ่งแล้ว นิ + วส ธาตุ ในความนุ่ง + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณาเป ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูป เป็น นิวาสาเปตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิวาเรตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันห้าม, เพื่ออันห้าม นิ + วร ธาตุ ในความห้าม + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ได้รูปเป็น นิวาเรตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นิวาเรตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ห้ามแล้ว นิ + วร ธาตุ ในความ ห้าม + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ด้วย อำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิวาเรตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิวาเรนฺต-->> คำแปล --->>ก. ห้ามอยู่ นิ + วร ธาตุ ในความห้าม + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้ แต่ เอ ได้รูปเป็น นิวาเรนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิวาเรนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชนา อ. ชน ท.) ย่อมห้าม นิ + วร ธาตุ ในความห้าม + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิวาเรนฺติ

ศัพท์บาลี --->>นิวาเรสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ตาปโส อ. ดาบส) ห้ามแล้ว นิ + วร ธาตุ ในความห้าม + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิวาเรสิ

ศัพท์บาลี --->>นิวาเรสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชนา อ. ชน ท.) ห้ามแล้ว นิ + วร ธาตุ ในความห้าม + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม สำเร็จรูปเป็น นิวาเรสุ

ศัพท์บาลี --->>นิวาเสติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น อิตฺถี อ. หญิง) ย่อมนุ่ง นิ + วส ธาตุ ในความนุ่ง + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูป เป็น นิวาเสติ

ศัพท์บาลี --->>นิวาเสตุ-->> คำแปล --->>น. อ.อันนุ่ง,เพื่ออันนุ่ง นิ + วส ธาตุ ใน ความนุ่ง + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย ด้วย อำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิวาเสตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นิวาเสตฺวา-->> คำแปล --->>๑ ก. นุ่งแล้ว นิ + วส ธาตุ ในความ นุ่ง + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ด้วย อำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิวาเสตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิวาเสตฺวา-->> คำแปล --->>๒ ก. ยัง…ให้นุ่งแล้ว นิ + วส ธาตุ ในความนุ่ง + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิวาเสตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิวาเสยฺยาถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) พึงนุ่ง นิ + วส ธาตุ ในความนุ่ง + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + เอยฺยาถ สัตตมีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ เป็น นิวาเส +เอยฺยาถ ลบ เอ ที่ เส สำเร็จรูปเป็น นิวาเสยฺยาถ

ศัพท์บาลี --->>นิวาเสสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ภิกฺขุ อ. ภิกษุ) นุ่งแล้ว นิ + วส ธาตุ ในความนุ่ง + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิวาเสสิ

ศัพท์บาลี --->>นิวาเสสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) จักนุ่ง นิ + วส ธาตุ ในความนุ่ง + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูป เป็น นิวาเสสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>นิวุตฺถ-->> คำแปล --->>ก. อัน…นุ่งแล้ว นิ + วส ธาตุ ในความนุ่ง + ต ปัจจัย แปลง อ ที่ ว เป็น อุ แปลง ต เป็น ตฺถ ลบ ส ที่สุดธาตุ ได้รูปเป็น นิวุตฺถ ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>นิสชฺช-->> คำแปล --->>ก. ครั้นประทับนั่งแล้ว นิ + สท ธาตุ ใน ความนั่ง + ตูนาทิปัจจัย แปลงตูนาทิปัจจัย เป็น ย แปลง ย กับ ท ที่สุดธาตุ เป็น ชฺช สำเร็จรูป เป็น นิสชฺช

ศัพท์บาลี --->>นิสภ-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. นิสภะ (ชื่อของพระเถระ) แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิสโภ (เถโร) อ. พระเถระ ชื่อว่านิสภะ

ศัพท์บาลี --->>นิสภตฺเถร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระเถระชื่อว่านิสภะ แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิสภตฺเถโร อ. พระเถระ ชื่อว่านิสภะ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นิสโภ เถโร = นิสภตฺเถโร [ซ้อน ตฺ]

ศัพท์บาลี --->>นิสมฺมการี-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้ใคร่ครวญแล้วกระทำโดย ปกติ นิสมฺม + กร ธาตุ ในความทำ + ณี ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณี ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อี ได้รูปเป็น นิสมฺมการี แปลว่า ผู้ใคร่ครวญแล้วกระทำโดยปกติ เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ ลงในอรรถแห่งตัสสีละ วิ.ว่า นิสมฺม กโรติ สีเลนาติ นิสมฺมการี (ปุคฺคโล) บุคคลใด ใคร่ครวญแล้ว ย่อมกระทำ โดยปกติ เหตุนั้น บุคคลนั้น ชื่อว่า นิสมฺมการีๆ ผู้ใคร่ครวญแล้ว กระทำโดยปกติ คำว่า นิสมฺม มาจาก นิ + สม ธาตุ ในความใคร่ครวญ + ตูนาทิปัจจัย แปลง ตูนาทิปัจจัย เป็น ย แปลง ย กับ ม ที่สุดธาตุ เป็น มฺม สำเร็จรูปเป็น นิสมฺม

ศัพท์บาลี --->>นิสาเมตฺวา-->> คำแปล --->>ก. พิจารณาแล้ว นิ + สม ธาตุ ใน ความพิจารณา + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิสาเมตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิสินฺน-->> คำแปล --->>ก. นั่งแล้ว นิ + สีท ธาตุ ในความนั่ง + ต ปัจจัย รัสสะ อี ที่ สีท ธาตุ เป็น อิ แปลง ต เป็น นฺน ลบ ท ที่สุดธาตุ ได้รูปเป็น นิสินฺน ดู นิพฺพินฺน

ศัพท์บาลี --->>นิสินฺนก-->> คำแปล --->>ว. ผู้นั่งแล้ว นิ + สีท ธาตุ ในความนั่ง + ต ปัจจัย รัสสะ อี ที่ สีท ธาตุ เป็น อิ แปลง ต เป็น นฺน ลบ ท ที่สุดธาตุ ลง ก สกัด ได้รูปเป็น นิสินฺนก ดู นิพฺพินฺน

ศัพท์บาลี --->>นิสินฺนกาเล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ในกาลแห่ง…นั่งแล้ว เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิสินฺนสฺส กาโล = นิสินฺนกาโล แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>นิสินฺนฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่แห่ง…นั่งแล้ว แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.พหุ. นิสินฺนฏฺานานิ ซึ่งที่แห่ง…นั่ง แล้ว ท. เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิสินฺนสฺส านานิ = นิสินฺนฏฺานานิ [ซ้อน ฏฺ]

ศัพท์บาลี --->>นิสินฺนผลก-->> คำแปล --->>น.,นปุ. แผ่นกระดานแห่ง…นั่งแล้ว แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิสินฺนผลกํ ซึ่งแผ่น กระดานแห่ง…นั่งแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิสินฺนสฺส ผลกํ = นิสินฺนผลกํ

ศัพท์บาลี --->>นิสินฺนภิกฺขุ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ภิกษุผู้นั่งแล้ว แจกเหมือน ครุ เช่น ทุ.เอก. นิสินฺนภิกฺขุ ซึ่งภิกษุผู้นั่งแล้ว เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นิสินฺโน ภิกฺขุ = นิสินฺนภิกฺขุ

ศัพท์บาลี --->>นิสินฺนมตฺต-->> คำแปล --->>ว. สักว่านั่งแล้ว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. สินฺนมตฺเต (เสฏฺมฺหิ) ครั้นเมื่อ เศรษฐี ผู้สักว่านั่งแล้ว เป็นสัมภาวนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นิสินฺโน อิติ มตฺโต = นิสินฺนมตฺโต (เสฏฺ)

ศัพท์บาลี --->>นิสินฺนมนุสฺส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. มนุษย์ผู้นั่งแล้ว แจกเหมือน ปุริส เช่น ฉ.พหุ. นิสินฺนมนุสฺสานํ ของมนุษย์ ผู้นั่งแล้ว ท. เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นิสินฺนา มนุสฺสา = นิสินฺนมนุสฺสา

ศัพท์บาลี --->>นิสินฺนาสน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อาสนะแห่ง…นั่งแล้ว แจก เหมือน กุล เช่น ป.เอก. นิสินฺนาสนํ อ. อาสนะ แห่ง…นั่งแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิสินฺนสฺส อาสนํ = นิสินฺนาสนํ

ศัพท์บาลี --->>นิสีท-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จงนั่ง นิ + สีท ธาตุ ในความ นั่ง + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ ลบ หิ สำเร็จรูปเป็น นิสีท

ศัพท์บาลี --->>นิสีทติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เถโร อ. พระเถระ) ย่อมนั่ง นิ + สีท ธาตุ ในความนั่ง + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นิสีทติ

ศัพท์บาลี --->>นิสีทถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) จงนั่ง นิ + สีท ธาตุ ในความนั่ง + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ถ ปัญจมี วิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นิสีทถ

ศัพท์บาลี --->>นิสีทน-->> คำแปล --->>๑ น.,นปุ. ความนั่ง, การนั่ง, อันนั่ง แจก เหมือน กุล เช่น ป.เอก. นิสีทนํ อ. การนั่ง คำว่า นิสีทน มาจาก นิ + สีท ธาตุ ในความนั่ง + ยุ ปัจจัย แปลง ยุ เป็น อน ได้รูปเป็น นิสีทน แปลว่า การนั่ง เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า นิสีทนํ = นิสีทนํ การนั่ง ชื่อว่า นิสีทนํๆ การนั่ง

ศัพท์บาลี --->>นิสีทน-->> คำแปล --->>๒ ว. เป็นที่นั่ง นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิสีทนํ (วตฺถํ) ซึ่งผ้า เป็นที่นั่ง คำว่า นิสีทน มาจาก นิ + สีท ธาตุ ในความนั่ง + ยุ ปัจจัย แปลง ยุ เป็น อน ได้รูปเป็น นิสีทน แปลว่า เป็นที่นั่ง เป็นกัตตุรูป อธิกรณสาธนะ วิ.ว่า นิสีทติ เอตฺถาติ นิสีทนํ (วตฺถํ) ภิกษุ ย่อมนั่ง ที่ผ้านั่น เหตุนั้น ผ้านั่น ชื่อว่า นิสีทนํๆ เป็นที่นั่ง

ศัพท์บาลี --->>นิสีทนฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่เป็นที่นั่ง แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิสีทนฏฺานํ ซึ่งที่เป็นที่นั่ง เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ.วิ. นิสีทติ เอตฺถาติ นิสีทนํ (านํ) เขา ย่อมนั่ง ในที่นั่น เหตุนั้น ที่นั่น ชื่อว่า นิสีทนํๆ เป็นที่นั่ง วิ.บุพ.กัม.วิ. นิสีทนํ านํ = นิสีทนฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ]

ศัพท์บาลี --->>นิสีทนตฺถ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ประโยชน์แก่อันประทับนั่ง แจกเหมือน ปุริส เช่น จ.เอก. นิสีทนตฺถาย เพื่อประโยชน์แก่อันประทับนั่ง เป็นจตุตถีตัปปุริส สมาส วิ.ว่า นิสีทนสฺส อตฺโถ = นิสีทนตฺโถ

ศัพท์บาลี --->>นิสีทนปาสาณผลก-->> คำแปล --->>น.,นปุ. แผ่นแห่งหินเป็น ที่ประทับนั่ง แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. นิสีทนปาสาณผลเก บนแผ่นแห่งหินเป็น ที่ประทับนั่ง เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. นิสีทโน ปาสาโณ = นิสีทนปาสาโณ ฉ.ตัป.วิ. นิสีทนปาสาณสฺส ผลกํ = นิสีทนปาสาณผลกํ

ศัพท์บาลี --->>นิสีทนภาว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความเป็นคืออันนั่ง แจก เหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นิสีทนภาวํ ซึ่งความ เป็นคืออันนั่ง เป็นอวธารณบุพพบท กัมมธารย สมาส วิ.ว่า นิสีทนํ เอว ภาโว = นิสีทนภาโว

ศัพท์บาลี --->>นิสีทนาการ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อาการคืออันประทับนั่ง แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นิสีทนาการํ ซึ่ง อาการคืออันประทับนั่ง เป็นอวธารณบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นิสีทนํ เอว อากาโร = นิสีทนากาโร

ศัพท์บาลี --->>นิสีทนารห-->> คำแปล --->>ว. อันสมควรแก่อันประทับนั่ง นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. นิสีทนารหํ (อาสนํ) ซึ่งอาสนะ อันสมควรแก่อันประทับนั่ง เป็นจตุตถีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิสีทนสฺส อรหํ = นิสีทนารหํ (อาสนํ)

ศัพท์บาลี --->>นิสีทนุฏฺหนกาล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กาลเป็นที่ประทับนั่ง และเป็นที่เสด็จลุกขึ้น เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณ สาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ.วิ. นิสีทติ จ อุฏฺหติ จ เอตฺถาติ นิสีทนุฏฺหโน (กาโล) ท้าวสักกะ ย่อมนั่งด้วย ย่อมลุกขึ้นด้วย ในกาลนั่น เหตุนั้น กาลนั่น ชื่อว่า นิสีทนุฏฺหโนๆ เป็นที่นั่งและเป็นที่ลุกขึ้น วิ.บุพ. กัม.วิ. นิสีทนุฏฺหโน กาโล = นิสีทนุฏฺนกาโล แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>นิสีทนฺต-->> คำแปล --->>ก. นั่งอยู่, เมื่อนั่ง นิ + สีท ธาตุ ในความ นั่ง + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ได้รูป เป็น นิสีทนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นิสีทนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ภิกฺขู อ. ภิกษุ ท.) ย่อมนั่ง นิ + สีท ธาตุ ในความนั่ง + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นิสีทนฺติ

ศัพท์บาลี --->>นิสีทมาน-->> คำแปล --->>ก. นั่งอยู่, เมื่อนั่ง นิ + สีท ธาตุ ใน ความนั่ง + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + มาน ปัจจัย ได้รูปเป็น นิสีทมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>นิสีทามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) ย่อมนั่ง นิ + สีท ธาตุ ใน ความนั่ง + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + มิ วัตตมานา วิภัตติ มิ อยู่หลัง ทีฆะ อ ที่สุดธาตุ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น นิสีทามิ

ศัพท์บาลี --->>นิสีทาเปตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้นั่งแล้ว นิ + สีท ธาตุ ในความนั่ง + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูป เป็น นิสีทาเปตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิสีทาเปสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น มนุสฺสา อ. มนุษย์ ท.) ยัง…ให้ นั่งแล้ว นิ + สีท ธาตุ ในความนั่ง + ณาเป ปัจจัย ในเหตุกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป ลง ส อาคม สำเร็จรูปเป็น นิสีทาเปสุ

ศัพท์บาลี --->>นิสีทาเปสฺสนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น มนุสฺสา อ. มนุษย์ ท.) ยัง…จักให้นั่ง นิ + สีท ธาตุ ในความนั่ง + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + สฺสนฺติ ภวิสสันติวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น นิสีทาเปสฺสนฺติ

ศัพท์บาลี --->>นิสีทิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น มหาปาโล อ. มหาปาละ) นั่งแล้ว นิ + สีท ธาตุ ในความนั่ง + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูป เป็น นิสีทิ

ศัพท์บาลี --->>นิสีทิตพฺพํ-->> คำแปล --->>ก. อัน…พึงนั่ง นิ + สีท ธาตุ ในความ นั่ง + ตพฺพ ปัจจัย ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น นิสีทิตพฺพ อ การันต์ ในนปุงสกลิงค์ ลง สิ ปฐมาวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ แปลง อ กับ สิ เป็น อํ สำเร็จรูป เป็น นิสีทิตพฺพํ

ศัพท์บาลี --->>นิสีทิตุกามตา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ความที่แห่ง…เป็นผู้ใคร่ เพื่ออันนั่ง ลง ตา ปัจจัย ในภาวตัทธิต มีจตุตถี ตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ จตุ.ตัป.วิ. นิสีทิตุ กาโม = นิสีทิตุกาโม [ลบนิคคหิตบทหน้า] ตา.ภาว.วิ. นิสีทิตุกามสฺส ภาโว = นิสีทิตุกามตา แจกเหมือน กญฺญา

ศัพท์บาลี --->>นิสีทิตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันนั่ง, เพื่ออันนั่ง นิ + สีท ธาตุ ใน ความนั่ง + ตุ ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิสีทิตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>นิสีทิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. นั่งแล้ว, จับแล้ว นิ + สีท ธาตุ ใน ความนั่ง + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูป เป็น นิสีทิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิสีทิสฺสนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ภิกฺขู อ. ภิกษุ ท.) จักนั่ง นิ + สีท ธาตุ ในความนั่ง + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสนฺติ ภวิสสันติวิภัตติ ลง อิ อาคม สำเร็จรูป เป็น นิสีทิสฺสนฺติ

ศัพท์บาลี --->>นิสีทิสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) จักนั่ง นิ + สีท ธาตุ ในความนั่ง + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น นิสีทิสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>นิสีทึสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ภิกฺขู อ. ภิกษุ ท.) นั่งแล้ว นิ + สีท ธาตุ ในความนั่ง + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง อุ เป็น อึสุ สำเร็จรูป เป็น นิสีทึสุ

ศัพท์บาลี --->>นิสีเทยฺยาสิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) พึงนั่ง นิ + สีท ธาตุ ในความนั่ง + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + เอยฺยาสิ สัตตมีวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นิสีเทยฺยาสิ

ศัพท์บาลี --->>นิสีเทยฺยํ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) พึงนั่ง นิ + สีท ธาตุ ในความนั่ง + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + เอยฺยํ สัตตมีวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นิสีเทยฺยํ

ศัพท์บาลี --->>นิสฺสตฺต-->> คำแปล --->>ว. มีสัตว์ออกแล้ว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น เช่น ป.เอก. นิสฺสตฺโต (สโร) อ. ลูกศร มี สัตว์ออกแล้ว เป็นปัญจมีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส วิ.ว่า นิคฺคโต สตฺโต ยสฺมา โส นิสฺสตฺโต (สโร) สัตว์ ออกไปแล้ว จากลูกศรใด ลูกศรนั้น ชื่อว่ามีสัตว์ออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิสฺสทฺท-->> คำแปล --->>ว. มีเสียงออกแล้ว แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิสฺสทฺโท (เสฏฺ) อ. เศรษฐี ผู้มี เสียงออกแล้ว เป็นปัญจมีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส วิ.ว่า นิคฺคโต สทฺโท ยสฺมา โส นิสฺสทฺโท (เสฏฺ) เสียง ออกไปแล้ว จากเศรษฐีใด เศรษฐี นั้น ชื่อว่ามีเสียงออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิสฺสนฺท-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (วิบาก) เป็นเครื่องไหลออก แจก เหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. นิสฺสนฺเทน (วิปาเกน) เพราะวิบากเป็นเครื่องไหลออก คำว่า นิสฺสนฺท มาจาก นิ + สนฺท ธาตุ ในความไหลออก + อ ปัจจัย ซ้อน สฺ หน้าธาตุ ได้รูปเป็น นิสฺสนฺท แปลว่า เป็นเครื่องไหลออก เป็นกัตตุรูป กรณสาธนะ วิ.ว่า นิสฺสนฺทติ เอเตนาติ นิสฺสนฺโท (วิปาโก) บุญ ย่อมไหลออก ด้วยวิบากนั่น เหตุนั้น วิบากนั่น ชื่อว่า นิสฺสนฺโทๆ เป็นเครื่องไหลออก

ศัพท์บาลี --->>นิสฺสย-->> คำแปล --->>๑ น.,ปุ. นิสสัย แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิสฺสโย อ. นิสสัย

ศัพท์บาลี --->>นิสฺสย-->> คำแปล --->>๒ ว.,ปุ. (บุคคล) เป็นที่อาศัยอยู่ มาจาก นิ + สี ธาตุ ในความอยู่ + อ ปัจจัย ซ้อน สฺ หน้า ธาตุ รัสสะ อี แห่ง สี ธาตุ เป็น อิ วิการ อิ เป็น เอ แล้วแปลง เอ เป็น อย ได้รูปเป็น นิสฺสย แปลว่า เป็นที่อาศัยอยู่ เป็นกัตตุรูป กัมมสาธนะ วิ.ว่า นิสฺสาย นํ วสตีติ นิสฺสโย เขา อาศัย ซึ่ง บุคคลนั้น อยู่ เหตุนั้น บุคคลนั้น ชื่อว่า นิสฺสโยๆ เป็นที่อาศัยอยู่ แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>นิสฺสยสมฺปนฺน-->> คำแปล --->>ว. ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิสสัย แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิสฺสยสมฺปนฺโน (ภิกฺขุ) อ. ภิกษุ ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิสสัย เป็น ตติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิสฺสเยน สมฺปนฺโน = นิสฺสยสมฺปนฺโน (ภิกฺขุ)

ศัพท์บาลี --->>นิสฺสาย-->> คำแปล --->>ก. อาศัยแล้ว, เพราะอาศัย, พิง นิ + สี ธาตุ ในความอาศัย + ตูนาทิปัจจัย ซ้อน สฺ หน้า ธาตุ รัสสะ อี แห่ง สี ธาตุ เป็น อิ แปลง อิ เป็น เอ แล้วแปลง เอ เป็น อา แปลงตูนาทิปัจจัยเป็น ย สำเร็จรูปเป็น นิสฺสาย

ศัพท์บาลี --->>นิสฺสารภาว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความที่แห่งลัทธิเป็นลัทธิมี สาระออกแล้ว แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นิสฺสารภาวํ ซึ่งความที่แห่งลัทธิเป็นลัทธิมีสาระ ออกแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิ กรณพหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตาม ลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. นิคฺคโต สาโร ยสฺส โส นิสฺสาโร (สมโย) สาระ ของลัทธิใด ออกไปแล้ว ลัทธินั้น ชื่อว่ามีสาระออกแล้ว [สมย = ลัทธิ, ความเห็น : คัมภีร์อภิธานวรรณนา หน้า ๒๒๒] ฉ.ตัป.วิ. นิสฺสารสฺส (สมยสฺส) ภาโว = นิสฺสารภาโว

ศัพท์บาลี --->>นิสฺสิตก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นิสิต แจกเหมือน ปุริส เช่น จ.พหุ. นิสฺสิตกานํ แก่นิสิต ท.

ศัพท์บาลี --->>นิสฺสิริก-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีสิริออกแล้ว อิต. ลง อา เครื่องหมาย อิตถีลิงค์ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.พหุ. นิสฺสิริกา (อิตฺถิโย) อ. หญิง ท. ผู้มีสิริออกแล้ว เป็น ปัญจมีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นิคฺคตา สิริ ยาหิ ตา นิสฺสิริกา (อิตฺถิโย) สิริ ออกไปแล้ว จากหญิง ท. เหล่าใด หญิง ท. เหล่านั้น ชื่อว่า ผู้มีสิริออกแล้ว [บทสมาสลง ก สกัด]

ศัพท์บาลี --->>นิสฺสิว-->> คำแปล --->>เทียงคืน, เวลาเที่ยงคืน เวลาค่ำคืน มาจาก นิ+สี ธาตุในความนอน +ว ปัจจัย, ซ้อน ส, รัสสะ อี เป็น อิ

ศัพท์บาลี --->>นิสฺสีล-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีศีลออกแล้ว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิสฺสีโล (ปุคฺคโล) อ. บุคคล ผู้มีศีล ออกแล้ว เป็นปัญจมีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นิคฺคตํ สีลํ ยสฺมา โส นิสฺสีโล (ปุคฺคโล) ศีล ออกไปแล้ว จากบุคคลใด บุคคลนั้น ชื่อว่า ผู้มีศีลออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิสฺสํสย-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ความไม่มีแห่งความสงสัย แจกเหมือน กุล เช่น ต.เอก. นิสฺสํสเยน โดย ความไม่มีแห่งความสงสัย [ธรรมบทภาค ๑ เรื่องสญชัย หน้า ๙๗ เป็นทุติยาวิภัตติ นิสฺสํสยํ แปลเป็นตติยาวิภัตติว่า โดยความไม่มีแห่ง ความสงสัย แต่ธรรมบทภาค ๕ เรื่องนายพราน กุกกุฏมิตร หน้า ๒๓ เป็น นิสฺสํสเยน] เป็น อุปสัคคปุพพกะ อัพยยีภาวสมาส วิ.ว่า สํสยสฺส อภาโว = นิสฺสํสยํ ความไม่มี แห่งความสงสัย ชื่อว่าความไม่มีแห่งความสงสัย [นิ ในรูปวิเคราะห์ ใช้ อภาโว = ความไม่มี แทน]

ศัพท์บาลี --->>นิสฺเสณี-->> คำแปล --->>น.,อิต. พะอง แจกเหมือน นารี เช่น ทุ.เอก. นิสฺเสณึ ซึ่งพะอง

ศัพท์บาลี --->>นิสฺโสก-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีความโศกออกแล้ว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิสฺโสโก (พฺราหฺมโณ) อ. พราหมณ์ ผู้มีความโศกออกแล้ว เป็นปัญจมีตุล ยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นิคฺคโต โสโก ยสฺมา โส นิสฺโสโก (พฺราหฺมโณ) ความโศก ออกไปแล้ว จากพราหมณ์ใด พราหมณ์นั้น ชื่อว่า ผู้มีความโศกออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>นิหีน-->> คำแปล --->>ว. เลว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น นิหีโน (ธมฺโม) อ. ธรรม อันเลว อิต. ลง อา เครื่องหมาย อิตถีลิงค์ เป็น นิหีนา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. นิหีนา (นารี) อ. นารี ผู้เลว นปุ. แจก เหมือน กุล เช่น ป.เอก. นิหีนํ (ชจฺจํ) อ. ชาติ อันเลว

ศัพท์บาลี --->>นิหีนชจฺจ-->> คำแปล --->>ว. มีชาติอันเลว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิหีนชจฺโจ (คทฺรโภ) อ. ลา ตัวมีชาติ อันเลว เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า นิหีนํ ชจฺจํ ยสฺส โส นิหีนชจฺโจ (คทฺรโภ) ชาติ ของลาใด เลว ลานั้น ชื่อว่าตัวมีชาติอันเลว [ชจฺจ = ชาติ, ความเกิด, กำเนิด นปุ.]

ศัพท์บาลี --->>นิเกเต-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (าเน) ในที่ เป็นที่อยู่ มาจาก นิ บทหน้า + กิต ธาตุ ในความอยู่,ความอาศัย + ณ ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย วิการ อิ ที่ กิต ธาตุ เป็น เอ ลบ ณ ได้รูปเป็น นิเกต แปลว่า เป็นที่อยู่ เป็นกัตตุรูป อธิกรณสาธนะ วิ.ว่า นิเกตติ เอตฺถาติ นิเกตํ (านํ) เขา ย่อมอยู่ ในที่นั่น เหตุนั้น ที่นั่น ชื่อว่า นิเกตํๆ เป็นที่อยู่

ศัพท์บาลี --->>นิเวทาเปตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้กราบทูลแล้ว นิ + วิท ธาตุ ในความกล่าว [สัททนีติธาตุมาลา หน้า ๘๐๕] + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณาเป ปัจจัย วิการ อิ ที่ วิท ธาตุ เป็น เอ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น นิเวทาเปตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิเวทิต-->> คำแปล --->>ก. อัน…ทูลให้ทรงทราบแล้ว นิ + วิท ธาตุ ในความรู้ + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ต ปัจจัยเป็นเหตุกัมมวาจก ลง อิ อาคม ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย วิการ อิ ที่ วิท ธาตุ เป็น เอ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ เป็น นิเวเท + อิ + ต ลบสระหน้า คือ เอ ที่ เท ได้รูปเป็น นิเวทิต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>นิเวสน-->> คำแปล --->>๑ น.,นปุ. นิเวศน์ แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นิเวสนํ อ. นิเวศน์

ศัพท์บาลี --->>นิเวสน-->> คำแปล --->>๒ ว.,นปุ. (ที่) เป็นที่อยู่ แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นิเวสนํ (านํ) อ. ที่ เป็นที่อยู่ คำว่า นิเวสน มาจาก นิ + วิส ธาตุ ในความอยู่ + ยุ ปัจจัย วิการ อิ ที่ วิส ธาตุ เป็น เอ แปลง ยุ เป็น อน ได้รูปเป็น นิเวสน แปลว่า เป็นที่อยู่ เป็นกัตตุรูป อธิกรณสาธนะ วิ.ว่า นิวิสติ เอตฺถาติ นิเวสนํ (านํ) เขา ย่อมอยู่ ในที่นั่น เหตุนั้น ที่นั่น ชื่อว่า นิเวสนํๆ เป็นอยู่

ศัพท์บาลี --->>นิเวสนทฺวาร-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ประตูแห่งนิเวศน์ แจก เหมือน กุล เช่น ส.เอก. นิเวสนทฺวาเร ใกล้ประตู แห่งนิเวศน์ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิเวสนสฺส ทฺวารํ = นิเวสนทฺวารํ

ศัพท์บาลี --->>นิเวสิต-->> คำแปล --->>ก. อัน...ให้อยู่อาศัยแล้ว นิ + วิส ธาตุ ในความอยู่ + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ต ปัจจัยเป็นเหตุกัมมวาจก ลง อิ อาคม ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย วิการ อิ ที่ วิส ธาตุ เป็น เอ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ เป็น นิเวเส + อิ + ต ลบสระหน้า คือ เอ ที่ เส ได้รูปเป็น นิเวสิต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>นิเวเทตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้ทรงทราบแล้ว นิ + วิท ธาตุ ในความรู้ + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย วิการ อิ ที่ วิท ธาตุ เป็น เอ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูป เป็น นิเวเทตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิเวเสตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้ตั้งแล้ว, ให้อยู่แล้ว นิ + วิส ธาตุ ในความอยู่ + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย วิการ อิ ที่ วิส ธาตุ เป็น เอ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูป เป็น นิเวเสตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิเวเสสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น วิฑูฑโภ อ. พระเจ้าวิฑูฑภะ) ยัง...ให้ตั้งแล้ว นิ + วิส ธาตุ ในความอยู่ + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย วิการ อิ ที่ วิส ธาตุ เป็น เอ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น นิเวเสสิ

ศัพท์บาลี --->>นิเสธ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จงห้าม นิ + สิธุ ธาตุ ในความ ไป ด้วยอำนาจ นิ อุปสัค แปลว่า ห้าม + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ วิการ อิ ที่ สิธุ ธาตุ เป็น เอ ลบ อุ ที่ ธุ ลบ หิ สำเร็จรูปเป็น นิเสธ

ศัพท์บาลี --->>นิโคฺรธมหาวิหาร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. มหาวิหารชื่อว่านิโครธ แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. นิโคฺรธมหาวิหาเร ในมหาวิหารชื่อว่านิโครธ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นิโคฺรโธ มหาวิหาโร = นิโคฺรธมหาวิหาโร

ศัพท์บาลี --->>นิโคฺรธมูล-->> คำแปล --->>น.,นปุ. โคนแห่งต้นไทร แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. นิโคฺรธมูเล ณ โคนแห่งต้นไทร เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิโคฺรธสฺส มูลํ = นิโคฺรธมูลํ

ศัพท์บาลี --->>นิโคฺรธรุกฺข-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ต้นไทร แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิโคฺรธรุกฺโข อ. ต้นไทร

ศัพท์บาลี --->>นิโคฺรธรุกฺขมูล-->> คำแปล --->>น.,นปุ. โคนแห่งต้นไทร แจก เหมือน กุล เช่น ส.เอก. นิโคฺรธรุกฺขมูเล ที่โคนแห่งต้นไทร เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นิโคฺรธรุกฺขสฺส มูลํ = นิโคฺรธรุกฺขมูลํ

ศัพท์บาลี --->>นิโยเชตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ชักชวนแล้ว นิ + ยุช ธาตุ ในความ ประกอบ ด้วยอำนาจอุปสัค แปลว่า ชักชวน + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย พฤทธิ อุ ต้นธาตุเป็น โอ ลบ ณ เหลือไว้ แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น นิโยเชตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นิโรธ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความดับ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นิโรโธ อ. ความดับ เฉพาะปัญจมีวิภัตติ ฝ่าย เอกวจนะ ลง โต ปัจจัย เป็น นิโรธโต บ้าง

ศัพท์บาลี --->>นิโรธสมาปตฺติ-->> คำแปล --->>น.,อิต. นิโรธสมาบัติ แจกเหมือน รตฺติ เช่น ทุ.เอก. นิโรธสมาปตฺตึ ซึ่งนิโรธสมาบัติ

ศัพท์บาลี --->>นีจ-->> คำแปล --->>ว. ตํ่า ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นีโจ (มญฺโจ) อ. เตียง อันตํ่า อิต. ลง อา เครื่องหมาย อิตถีลิงค์ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. นีจา (วติ) อ. รั้ว อันตํ่า นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นีจํ (อาสนํ) อ. อาสนะ อันตํ่า

ศัพท์บาลี --->>นีจตร-->> คำแปล --->>ว. อันตํ่ากว่า ลง ตร ปัจจัย ในเสฏฐตัทธิต แจกได้ใน ๓ ลิงค์ นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. นีจตเร (อาสเน) บนอาสนะ อันตํ่ากว่า วิ.ว่า สพฺพานิ อิมานิ นีจานิ, อิทมิเมสํ วิเสเสน นีจนฺติ นีจตรํ (อาสนํ) อาสนะ ท. เหล่านี้ ทั้งปวง ตํ่า, อาสนะนี้ ตํ่า โดยวิเศษ แห่งอาสนะ ท. เหล่านี้ เหตุนั้น อาสนะนี้ ชื่อว่า นีจตรํๆ ตํ่ากว่า

ศัพท์บาลี --->>นีจาสน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อาสนะอันตํ่า แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.พหุ. นีจาสนานิ ซึ่งอาสนะอันตํ่า ท. เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า นีจานิ อาสนานิ = นีจาสนานิ

ศัพท์บาลี --->>นีต-->> คำแปล --->>ก. อัน…นำไปแล้ว นี ธาตุ ในความนำไป + ต ปัจจัย ได้รูปเป็น นีต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>นียมาน-->> คำแปล --->>ก. อัน…นำไปอยู่ นี ธาตุ ในความนำไป + ย ปัจจัยในกัมมวาจก + มาน ปัจจัย ได้รูปเป็น นียมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>นียสิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) อัน…นำไปอยู่ นี ธาตุ ในความนำไป + ย ปัจจัยในกัมมวาจก + สิ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นียสิ [ธ. ๔: กุณฺฑลเกสีเถรีวตฺถุ หน้า ๑๐๑]

ศัพท์บาลี --->>นีลวณฺณ-->> คำแปล --->>ว. มีสีเขียว เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพ พิหิสมาส แจกใน ๓ ลิงค์ นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. นีลวณฺณํ (สรีรํ) อ. สรีระ มีสีเขียว วิ.ว่า นีโล วณฺโณ ยสฺส ตํ นีลวณฺณํ (สรีรํ) สี ของสรีระใด เขียว สรีระนั้น ชื่อว่ามีสีเขียว

ศัพท์บาลี --->>นีลาทิวณฺณํ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (สีลํ) อ. ศีล มีสีมีสีเขียว เป็นต้น เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มี วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส และฉัฏฐีตุล ยาธิกรณพหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. นีโล วณฺโณ = นีลวณฺโณ สีเขียว ฉ.ตุล.วิ. นีลวณฺโณ อาทิ ยสฺส โส นีลาทิ (วณฺโณ) สีเขียว เป็นต้น ของ สีใด สีนั้น ชื่อว่ามีสีเขียวเป็นต้น [บทสมาส ลบ วณฺณ ที่ นีล] ฉ.ตุล.วิ. นีลาทิ วณฺโณ ยสฺส ตํ นีลาทิวณฺณํ (สีลํ) สี ของศีลใด มีสีเขียวเป็นต้น ศีลนั้น ชื่อว่ามีสีมีสีเขียวเป็นต้น

ศัพท์บาลี --->>นีลุปฺปลคพฺภสมานวณฺณตาย-->> คำแปล --->>น.,อิต. เพราะ ความที่แห่ง…เป็นผู้มีวรรณะเสมอด้วยกลีบ แห่งดอกอุบลเขียว ลง ตา ปัจจัย ในภาวตัทธิต มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส ฉัฏฐีตัปปุริส สมาส ตติยาตัปปุริสสมาส และฉัฏฐีตุลยาธิกรณ พหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. นีลํ อุปฺปลํ = นีลุปฺปลํ ดอก อุบลเขียว ฉ.ตัป.วิ. นีลุปฺปลสฺส คพฺโภ = นีลุปฺปลคพฺโภ กลีบแห่งดอกอุบลเขียว ต.ตัป.วิ. นีลุปฺปลคพฺเภน สมาโน = นีลุปฺปลคพฺภสมาโน (วณฺโณ) วรรณะอันเสมอด้วยกลีบแห่งดอกอุบล เขียว ฉ.ตุล.วิ. นีลุปฺปลคพฺภสมาโน วณฺโณ ยสฺสา สา นีลุปฺปลคพฺภสมานวณฺณา (อิตฺถี) วรรณะ ของหญิงใด เสมอด้วยกลีบแห่งดอกอุบล เขียว หญิงนั้น ชื่อว่าผู้มีวรรณะอันเสมอด้วย กลีบแห่งดอกอุบลเขียว ตา.ภาว.วิ. นีลุปฺปลคพฺภ- สมานวณฺณาย (อิตฺถิยา) ภาโว = นีลุปฺปลคพฺภ- สมานวณฺณตา ความเป็นแห่งหญิงผู้มีวรรณะ เสมอด้วยกลีบแห่งดอกอุบลเขียว [นิยมแปลว่า ความที่แห่ง…เป็นผู้…]

ศัพท์บาลี --->>นีลุปฺปลจฺฉทน-->> คำแปล --->>ว. (มณฑป) มีดอกอุบลเขียว เป็นเครื่องมุง ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. นีลุปฺปลจฺฉทนํ (มณฺฑปํ) ซึ่งมณฑป อันมี ดอกอุบลเขียวเป็นเครื่องมุง เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณ พหุพพิหิสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม. วิ. นีลํ อุปฺปลํ = นีลุปฺปลํ ดอกอุบลเขียว ฉ.ตุล.วิ. นีลุปฺปลํ ฉทนํ ยสฺส โส นีลุปฺปลจฺฉทโน (มณฺฑโป) ดอกอุบลเขียว เป็นเครื่องมุง ของ มณฑปใด มณฑปนั้น ชื่อว่ามีดอกอุบลเขียวเป็น เครื่องมุง [มณฺฑป = มณฑป ปุ.,นปุ.]

ศัพท์บาลี --->>นีลุปฺปลทามสทิส-->> คำแปล --->>ว. เช่นกับด้วยพวงแห่งดอก อุบลเขียว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. นีลุปฺปลทามสทิโส (ฉวิวณฺโณ) อ. สีแห่งผิว เช่นกับด้วยพวงแห่งดอกอุบลเขียว เป็นตติยา ตัปปุริสสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส และฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. นีลํ อุปฺปลํ = นีลุปฺปลํ ดอกอุบลเขียว ฉ.ตัป.วิ. นีลุปฺปลสฺส ทามํ = นีลุปฺปลทามํ พวงแห่งดอกอุบลเขียว ต.ตัป.วิ. นีลุปฺปลทาเมน สทิโส = นีลุปฺปลทาม สทิโส (ฉวิวณฺโณ) สีแห่งผิว เช่นกับด้วยพวง แห่งดอกอุบลเขียว

ศัพท์บาลี --->>นีหฏ-->> คำแปล --->>ก. อัน…นำออกแล้ว นิ + หร ธาตุ ในความ นำไป แปลพร้อมอุปสัค ว่า นำออก + ต ปัจจัย ทีฆะ อิ ที่ นิ เป็น อี แปลง ต เป็น ฏ ลบที่ ร ที่สุดธาตุ ได้รูปเป็น นีหฏ ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>นีหตมาน-->> คำแปล --->>ว. มีมานะอันนำออกแล้ว เป็นตติยา ตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส แจกใน ๓ ลิงค์ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น จ.เอก. นีหตมานสฺส (เถรสฺส) แก่พระเถระ ผู้มีมานะอันนำออกแล้ว วิ.ว่า นีหโต มาโน เยน โส นีหตมาโน (เถโร)

ศัพท์บาลี --->>นีหรนฺต-->> คำแปล --->>ก. นำออกไปอยู่ นิ + หร ธาตุ ในความนำ ไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ทีฆะ อิ ที่ นิ เป็น อี ได้รูปเป็น นีหรนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>นีหราเปตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้นำออกแล้ว นิ + หร ธาตุ ในความนำไป + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ทีฆะ อิ ที่ นิ เป็น อี ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น นีหราเปตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นีหริต-->> คำแปล --->>ก. อัน…นำออกแล้ว นิ + หร ธาตุ ใน ความนำไป + ต ปัจจัย ลง อิ อาคม ทีฆะ อิ ที่ นิ เป็น อี ได้รูปเป็น นีหริต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>นีหริตพฺพ-->> คำแปล --->>ก. อัน…พึงนำออกไป นิ + หร ธาตุ ในความนำไป + ตพฺพ ปัจจัย ลง อิ อาคม ทีฆะ อิ ที่ นิ เป็น อี ได้รูปเป็น นีหริตพฺพ ดู อชานิตพฺพ

ศัพท์บาลี --->>นีหริตุกาม-->> คำแปล --->>ว. ผู้ใคร่เพื่ออันนำออกไป แจกได้ ใน ๓ ลิงค์ อิต. ลง อา เครื่องหมายอิตถีลิงค์ แจก เหมือน กญฺญา เช่น ป.พหุ. นีหริตุกามา (อิตฺถิโย) อ. หญิง ท. ผู้ใคร่เพื่ออันนำออกไป เป็นจตุตถี ตัปปุริสสมาส วิ.ว่า นีหริตุ กามา = นีหริตุกามา (อิตฺถิโย) [ลบนิคคหิตบทหน้า]

ศัพท์บาลี --->>นีหริตฺวา-->> คำแปล --->>ก. นำออกไปแล้ว, นำออกแล้ว นิ + หร ธาตุ ในความนำไป + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม ทีฆะ อิ ที่ นิ เป็น อี สำเร็จรูปเป็น นีหริตฺวา

ศัพท์บาลี --->>นีหริสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) จักนำออกไป นิ + หร ธาตุ ในความนำไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ ลง อิ อาคม ทีฆะ อิ ที่ นิ เป็น อี สำเร็จรูปเป็น นีหริสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>นีหรึสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชนา อ. ชน ท.) นำออกแล้ว นิ + หร ธาตุ ในความนำไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง อุ เป็น อึสุ ทีฆะ อิ ที่ นิ เป็น อี สำเร็จรูปเป็น นีหรึสุ

ศัพท์บาลี --->>นีหาร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ทำนอง แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. นีหาเรน โดยทำนอง

ศัพท์บาลี --->>นุ-->> คำแปล --->>นิ. หนอ เป็นนิบาตทำบทให้เต็ม เช่น โก นุ โข ปเจยฺย = อ. ใคร หนอ แล พึงแกง [ธ. ๒: สามาวตีวตฺถุ หน้า ๕๑]

ศัพท์บาลี --->>นุทติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ปณฺฑิโต อ. บัณฑิต) ย่อมบรรเทา นุท ธาตุ ในความบรรเทา + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น นุทติ

ศัพท์บาลี --->>นูน-->> คำแปล --->>นิ. แน่ เป็นนิบาตมีเนื้อความต่างๆ เช่น นิพฺพุตา นูน สา มาตา = อ. มารดานั้น ดับแล้ว แน่ [ธ. ๑: สญฺชยวตฺถุ หน้า ๗๗]

ศัพท์บาลี --->>นํ-->> คำแปล --->>ว., นั้น ศัพท์เดิมเป็น ต ทั้ง ปุ.,อิต.,นปุํ ทุ ฝ่าย เอก.


คำศัทพ์