มีข้อมูลที่ใกล้เคียงคือ

ศัพท์บาลี --->>เอกาจริยกุล-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ตระกูลแห่งอาจารย์เดียวกัน แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. เอกาจริยกุเล ในตระกูล แห่งอาจารย์เดียวกัน เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มี อสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตาม ลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. เอโก อาจริโย = เอกาจริโย ฉ.ตัป.วิ. เอกาจริยสฺส กุลํ = เอกาจริยกุลํ

ศัพท์บาลี --->>เอกาทส-->> คำแปล --->>ว. สิบเอ็ด แจกเหมือน ปญฺจ เป็นได้ทั้ง ๓ ลิงค์

ศัพท์บาลี --->>เอกาทสนหุต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. นหุตสิบเอ็ด แจกเหมือน กุล เช่น ป.พหุ. เอกาทสนหุตานิ อ. นหุตสิบเอ็ด ท. เป็นอสมาหารทิคุสมาส วิ.ว่า เอกาทส นหุตานิ = เอกาทสนหุตานิ

ศัพท์บาลี --->>เอกาพทฺธ-->> คำแปล --->>ว. เนื่องแล้วโดยความเป็นอันเดียวกัน ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. เอกาพทฺธา (ปูวา) อ. ขนม ท. เนื่องแล้วโดยความเป็นอันเดียว กัน [ธ. ๓: มจฺฉริโกสิย- หน้า ๓๓] เป็นตติยา ตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เอกโต อาพทฺธา = เอกาพทฺธา (ปูวา)

ศัพท์บาลี --->>เอกายน-->> คำแปล --->>ว. อันเป็นที่ไปแห่งบุคคลคนเดียว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. เอกายโน (มคฺโค) [ธ. ๑: ธมฺมิกอุปาสก- หน้า ๑๒๑] เอก บทหน้า + อิ ธาตุ ในความไป + ยุ ปัจจัย แปลง อิ ธาตุ เป็น เอ แล้วแปลง เอ เป็น อย ระหว่าง เอก + อย ลบ สระหน้า คือ อ ที่ เอก ทีฆะสระหลัง คือ อ ที่ อย เป็น อา เป็น เอกาย แปลง ยุ เป็น อน ได้รูปเป็น เอกายน แปลว่า เป็นที่ไปแห่งบุคคลคนเดียว เป็นกัตตุรูป อธิกรณสาธนะ วิ.ว่า เอโก (ปุคฺคโล) เอติ เอตฺถาติ เอกายโน (มคฺโค) บุคคลคนเดียว ย่อมไป ในหนทางนั่น เหตุนั้น หนทางนั่น ชื่อว่า เอกายโนๆ เป็นที่ไปแห่งบุคคลคนเดียว

ศัพท์บาลี --->>เอกาห-->> คำแปล --->>น.,ปุ.,นปุ. วันหนึ่ง แจกเหมือน ปุริส และ กุล เช่น ทุ.เอก. เอกาหํ สิ้นวันหนึ่ง ดู เอกภิกฺขุ และ เอกภาชน

ศัพท์บาลี --->>เอกาหทฺวีห-->> คำแปล --->>น.,นปุ. วันหนึ่งและวันสอง แจกเหมือน กุล เฉพาะฝ่ายเอกวจนะ เช่น ทุ.เอก. เอกาหทฺวีหํ สิ้นวันหนึ่งและวันสอง เป็นสมาหารทวันทวสมาส มีอสมาหารทิคุสมาส และอสมาหารทิคุสมาส เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. เอโก อโห = เอกาหํ อ.ทิคุ.วิ. เทฺว อหา = ทฺวีหํ ส.ทวัน. วิ. เอกาหญฺจ ทฺวีหญฺจ = เอกาหทฺวีหํ


คำศัทพ์