ศัพท์บาลี --->>เทฺว-->> คำแปล --->>ว. สอง ดู ทฺวิ ทั้ง ๓ ลิงค์ แจกเหมือนกัน ปุ. เช่น ป.,ทุ. เทฺว (ปุริสา) อ. บุรุษ ท. สอง อิต. เช่น ป. เทฺว (อิตฺถิโย) อ. หญิง ท. สอง นปุ. เช่น ป. เทฺว (กุลานิ) อ. ตระกูล ท. สอง

ศัพท์บาลี --->>เทฺวธา-->> คำแปล --->>อัพ. โดยส่วนสอง มาจาก เทฺว ศัพท์ ลง ธา ปัจจัย ในวิภาคตัทธิต ใช้แทน วิภาค ศัพท์ เป็นตติยาวิภัตติ วิ.ว่า ทฺวีหิ วิภาเคหิ = เทฺวธา โดยส่วน ท. สอง ชื่อว่า เทฺวธาๆ โดยส่วนสอง

ศัพท์บาลี --->>เทฺวธาปถ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ทางสองแพร่ง,ทางโดยส่วนสอง แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. เทฺวธาปเถ ที่ทาง สองแพร่ง, ที่ทางโดยส่วนสอง เป็นตติยาตัปปุริส สมาส มี ธา ปัจจัยในวิภาคตัทธิต เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ธา.วิภาค.วิ. ทฺวีหิ วิภาเคหิ = เทฺวธา ต.ตัป.วิ. เทฺวธา ปโถ = เทฺวธาปโถ

ศัพท์บาลี --->>เทฺวนวุติกปฺป-->> คำแปล --->>น. กัปป์เก้าสิบสอง ถ้าเป็นเอกวจนะ เช่น ส.เอก. เทฺวนวุติกปฺเป ในกัปป์เก้าสิบสอง เป็นสมาหารทิคุสมาส แจกเหมือน กุล เฉพาะฝ่าย เอกวจนะ วิ.ว่า เทฺวนวุติ กปฺปา = เทฺวนวุติกปฺปํ กัปป์เก้าสิบสอง แต่ถ้าเป็นพหุวจนะ เช่น ทุ.พหุ. เทฺวนวุติกปฺเป ยังกัปป์เก้าสิบสอง ท. เป็น อสมาหารทิคุสมาส แจกเหมือน ปุริส เฉพาะ ฝ่ายพหุวจนะ วิ.ว่า เทฺวนวุติ กปฺปา = เทฺวนวุติกปฺปา กัปป์เก้าสิบสอง ท.

ศัพท์บาลี --->>เทฺวนวุติกปฺปมตฺถก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ที่สุดแห่งกัปป์เก้า สิบสอง แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. เทฺวนวุติ กปฺปมตฺถเก ในที่สุดแห่งกัปป์เก้าสิบสอง เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีอสมาหารทิคุสมาส เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. เทฺวนวุติ กปฺปา = เทฺวนุวุติกปฺปา ฉ.ตัป.วิ. เทฺวนวุติกปฺปานํ มตฺถโก = เทฺวนวุติกปฺป- มตฺถโก

ศัพท์บาลี --->>เทฺวภูมิก-->> คำแปล --->>ว. อันประกอบแล้วด้วยชั้นสอง ดู ทฺวิภูมิก

ศัพท์บาลี --->>เทฺวมาสจฺจย-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อัน (การ) ล่วงไปแห่งเดือน สอง แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. เทฺวมาสจฺจเยน โดยอันล่วงไปแห่งเดือนสอง เป็นฉัฏฐีตัปปุริส สมาส มีอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. เทฺว มาสา = เทฺวมาสา ฉ.ตัป.วิ. เทฺวมาสานํ อจฺจโย = เทฺวมาสจฺจโย

ศัพท์บาลี --->>เทฺวสหายกภิกฺขุวตฺถุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งภิกษุ ผู้เป็นสหายกันสองรูป แจกเหมือน วตฺถุ เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมม ธารยสมาส และอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. สหายกา ภิกฺขู = สหายกภิกฺขู อ.ทิคุ.วิ. เทฺว สหายกภิกฺขู = เทฺวสหายกภิกฺขู ฉ.ตัป.วิ. เทฺวสหายกภิกฺขูนํ วตฺถุ = เทฺวสหายกภิกฺขุวตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>เทฺวอสีติญาติกุลสหสฺเสหิ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อันพันแห่ง ตระกูลแห่งพระญาติแปดสิบสองหน ท. เป็น อสมาหารทิคุสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส และฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตาม ลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. ญาตีนํ กุลานิ = ญาติกุลานิ ฉ.ตัป.วิ. ญาติกุลานํ สหสฺสานิ = ญาติกุล สหสฺสานิ อ.ทิคุ.วิ. เทฺวอสีติ ญาติกุลสหสฺสานิ = เทฺวอสีติญาติกุลสหสฺสานิ

ศัพท์บาลี --->>เทฺวโกฏิมตฺตา-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (มนุสฺสา) อ. มนุษย์ ท. ผู้มี โกฏิสองเป็นประมาณ แจกเหมือน ปุริส เป็น ฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีอสมาหาร ทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. เทฺว โกฏิโย = เทฺวโกฏิโย ฉ.ตุล.วิ. เทฺวโกฏิโย มตฺตา เยสํ เต เทฺวโกฏิมตฺตา (มนุสฺสา) โกฏิสอง ท. เป็นประมาณ ของ มนุษย์ ท. เหล่าใด มนุษย์ ท. เหล่านั้น ชื่อว่าผู้มี โกฏิสองเป็นประมาณ


คำศัทพ์