มีข้อมูลที่ใกล้เคียงคือ

ศัพท์บาลี --->>เตช-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เดช แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. เตโช อ. เดช

ศัพท์บาลี --->>เตชน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ลูกศร แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. เตชนํ ซึ่งลูกศร

ศัพท์บาลี --->>เตชวนฺตตร-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีเดชกว่า ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. เตชวนฺตตรา (เทวปุตฺตา) อ. เทพบุตร ท. ผู้มีเดชกว่า ลง ตร ปัจจัยใน เสฏฐตัทธิต วิ.ว่า สพฺเพ อิเม เตชวนฺโต, อิเม อิเมสํ วิเสเสน เตชวนฺโตติ เตชวนฺตตรา (เทวปุตฺตา) เทพบุตร ท. เหล่านี้ ทั้งปวง มีเดช, เทพบุตร ท. เหล่านี้ มีเดช โดยวิเศษ แห่ง เทพบุตร ท. เหล่านี้ เหตุนั้น เทพบุตร ท. เหล่านี้ ชื่อว่า เตชวนฺตตราๆ ผู้มีเดชกว่า

ศัพท์บาลี --->>เตตฺตึส-->> คำแปล --->>ว.,อิต. สามสิบสาม แจกเหมือน เอกูนวีส เฉพาะฝ่ายเอกวจนะ เป็นวิเสสนะของนามที่เป็น พหุวจนะได้ทั้ง ๓ ลิงค์ ปุ. เช่น ป. เตตฺตึสํ (ชนา) อ. ชน ท. สามสิบสาม อิต. เช่น ป. เตตฺตึสํ (นาริโย) อ. นารี ท. สามสิบสาม นปุ. เช่น ป. เตตฺตึสํ (วตฺถูนิ) อ. เรื่อง ท. สามสิบสาม

ศัพท์บาลี --->>เตตฺตึสกุมฺภ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กระพองสามสิบสาม แจก เหมือน ปุริส เช่น ทุ.พหุ. เตตฺตึสกุมฺเภ ซึ่ง กระพองสามสิบสาม ท. เป็นอสมาหารทิคุสมาส วิ.ว่า เตตฺตึสํ กุมฺภา = เตตฺตึสกุมฺภา

ศัพท์บาลี --->>เตตฺตึสชน-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ชนสามสิบสาม แจกเหมือน ปุริส เช่น ฉ.พหุ. เตตฺตึสชนานํ แห่งชน สามสิบสาม ท. เป็นอสมาหารทิคุสมาส วิ.ว่า เตตฺตึสํ ชนา = เตตฺตึสชนา

ศัพท์บาลี --->>เตตฺตึสเทวปุตฺตา-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อ. เทพบุตรสาม- สิบสาม ท. เป็นอสมาหารทิคุสมาส วิ.ว่า เตตฺตึสํ เทวปุตฺตา = เตตฺตึสเทวปุตฺตา

ศัพท์บาลี --->>เตน-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. นั้น ศัพท์เดิมเป็น ต อ การันต์ ในปุงลิงค์ ลง นา ปฐมาวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ เช่น เตน(การเณน) เพราะเหตุนั้น

ศัพท์บาลี --->>เตนหิ-->> คำแปล --->>นิ. ถ้าอย่างนั้น เช่น เตนหิ ภิกฺขเว สุณาถ = ดูก่อนภิกษุ ท. ถ้าอย่างนั้น อ. เธอ ท. จงฟัง

ศัพท์บาลี --->>เตปิฏก-->> คำแปล --->>๑ น.,นปุ. หมวดแห่งปิฎกสาม แจก เหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. เตปิฏกํ ซึ่งหมวดแห่ง ปิฎกสาม ลง ณ ปัจจัยในราคาทิตัทธิต มีอสมา หารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ตีณิ ปิฏกานิ = ติปิฏกานิ ณ.ราคา.วิ. ติปิฏกานํ ปิณฺโฑ = เตปิฏกํ [ลง ณ ปัจจัยแทน ปิณฺฑ = หมวด]

ศัพท์บาลี --->>เตปิฏก-->> คำแปล --->>๒ น.,นปุ. พระไตรปิฎก แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. เตปิฏกํ ซึ่งพระไตรปิฎก

ศัพท์บาลี --->>เตภาติก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พี่น้องชายสาม แจกเหมือน ปุริส เช่น จ.พหุ. เตภาติกานํ แก่พี่น้องชายสาม ท. เป็นอสมาหารทิคุสมาส วิ.ว่า ตโย ภาติกา = เตภาติกา

ศัพท์บาลี --->>เตภาติกชฏิล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ชฎิลผู้เป็นพี่น้องชายสาม แจกเหมือน ปุริส เช่น ฉ.พหุ. เตภาติกชฏิลานํ แห่งชฎิลผู้เป็นพี่น้องชายสาม ท. เป็นวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส มีอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ตโย ภาติกา = เตภาติกา วิ.บุพ.กัม.วิ. เตภาติกา ชฏิลา = เตภาติกชฎิลา

ศัพท์บาลี --->>เตมาส-->> คำแปล --->>น.,นปุ. หมวดแห่งเดือนสาม แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. เตมาสํ สิ้นหมวดแห่งเดือนสาม ลง ณ ปัจจัยในราคาทิตัทธิต มีอสมาหารทิคุ สมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ตโย มาสา = ติมาสา ณ.ราคา.วิ. ติมาสานํ ปิณฺโฑ = เตมาสํ [ลง ณ ปัจจัยแทน ปิณฺฑ = หมวด]

ศัพท์บาลี --->>เตมาสพฺภนฺตร-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ภายในแห่งหมวดแห่ง เดือนสาม แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. เตมาสพฺ ภนฺตเร ในภายในแห่งหมวดแห่งเดือนสาม เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีอสมาหารทิคุสมาส และ ณ ปัจจัยในราคาทิตัทธิต เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ตโย มาสา = ติมาสา ณ.ราคา.วิ. ติมาสานํ ปิณฺโฑ = เตมาสํ ฉ.ตัป. วิ. เตมาสสฺส อพฺภนฺตรํ = เตมาสพฺภนฺตรํ

ศัพท์บาลี --->>เตมึสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น วตฺถาภรณานิ อ. ผ้าและอาภรณ์ ท.) เปียกแล้ว ติม ธาตุ ในความเปียก + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ วิการ อิ ที่ ติม ธาตุ เป็น เอ แปลง อุ เป็น อึสุ สำเร็จรูปเป็น เตมึสุ

ศัพท์บาลี --->>เตรส-->> คำแปล --->>ว. สิบสาม เป็นได้ทั้ง ๓ ลิงค์ แจกเหมือน ปญฺจ ปุ. เช่น ป. เตรส (ชนา) อ. ชน ท. สิบสาม อิต. เช่น ป. เตรส (อิตฺถิโย) อ. หญิง ท. สิบสาม นปุ. เช่น ป. เตรส (ธูตงฺคานิ) อ. ธุดงค์ ท. สิบสาม

ศัพท์บาลี --->>เตรสหตฺถายาม-->> คำแปล --->>ว. อันมีศอกสิบสามเป็น ความยาว นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.พหุ. เตรสหตฺถายามานิ (ทิพฺพทุสฺสานิ) ซึ่งผ้าอัน เป็นทิพย์ ท. อันมีศอกสิบสามเป็นความยาว [ธ. ๔: อนุรุทฺธ- หน้า ๖๑] เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณ พหุพพิหิสมาส มีอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. เตรส หตฺถา = เตรสหตฺถา ฉ.ตุล.วิ. เตรสหตฺถา อายามา เยสํ ตานิ เตรสหตฺถายามานิ (ทิพฺพทุสฺสานิ)

ศัพท์บาลี --->>เตล-->> คำแปล --->>น.,นปุ. นํ้ามัน แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. เตลํ อ. นํ้ามัน

ศัพท์บาลี --->>เตลจาฏิ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ตุ่มแห่งนํ้ามัน แจกเหมือน รตฺติ เช่น ส.พหุ. เตลจาฏีสุ ในตุ่มแห่งนํ้ามัน ท. เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เตลานํ จาฏิโย = เตลจาฏิโย

ศัพท์บาลี --->>เตลติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิตาทีนิ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (วตฺถูนิ) ซึ่งวัตถุ ท. มีนํ้ามันและงาและข้าวสารและ เนยใสและนํ้าอ้อยเป็นต้น เป็นฉัฏฐีตุลยาธิ กรณพหุพพิหิสมาส มีอสมาหารทวันทวสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทวัน.วิ. เตลญฺจ ติลญฺจ ตณฺฑุโล จ สปฺปิ จ ผาณิตญฺจ = เตลติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิตํ ฉ.ตุล.วิ. เตลติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิตํ อาทิ เยสํ ตานิ เตลติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิตาทีนิ (วตฺถูนิ) แจกเหมือน อกฺขิ

ศัพท์บาลี --->>เตลนาฬิ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ทะนานแห่งนํ้ามัน แจกเหมือน รตฺติ เช่น ทุ.เอก. เตลนาฬึ ซึ่งทะนานแห่งนํ้ามัน เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เตลานํ นาฬิ = เตลนาฬิ

ศัพท์บาลี --->>เตลปิโลติกา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ผ้าเก่าอันชุ่มแล้วด้วยนํ้ามัน แจกเหมือน กญฺญา เช่น ต.พหุ. เตลปิโลติกาหิ ด้วยผ้าเก่าอันชุ่มแล้วด้วยนํ้ามัน ท. เป็นตติยา ตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เตเลน (ตินฺตา) ปิโลติกา = เตลปิโลติกา

ศัพท์บาลี --->>เตลปูร-->> คำแปล --->>ว. อันเต็มด้วยนํ้ามัน นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.พหุ. เตลปูรานิ (สกฏสตานิ) ซึ่งร้อย แห่งเกวียน ท. อันเต็มด้วยนํ้ามัน เป็นฉัฏฐีตัป ปุริสสมาส วิ.ว่า เตลานํ ปูรานิ = เตลปูรานิ (สกฏสตานิ) ดู อสฺสุปุณฺณ

ศัพท์บาลี --->>เตลพินฺทุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. หยาดแห่งนํ้ามัน แจกเหมือน วตฺถุ เช่น ทุ.เอก. เตลพินฺทุํ ซึ่งหยาดแห่ง นํ้ามัน เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เตลสฺส พินฺทุ = เตลพินฺทุ

ศัพท์บาลี --->>เตวิชฺช-->> คำแปล --->>ว. มีวิชชาสาม ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. เตวิชฺโช (เถโร) อ. พระเถระ ผู้มีวิชชาสาม ลง ณ ปัจจัยในตทัสสัตถิตัทธิต มีอสมาหาร ทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ติสฺโส วิชฺชา = ติวิชฺชา ณ.ตทัส.วิ. ติวิชฺชา อสฺส อตฺถีติ เตวิชฺโช (เถโร) วิชชาสาม ท. ของพระเถระนั้น มีอยู่ เหตุนั้น พระเถระนั้น ชื่อว่า เตวิชฺโชๆ ผู้มีวิชชาสาม

ศัพท์บาลี --->>เตวีสติ-->> คำแปล --->>ว.,อิต. ยี่สิบสาม แจกเหมือน รตฺติ เฉพาะ ฝ่ายเอกวจนะ เป็นวิเสสนะของนามที่เป็น พหุวจนะได้ทั้ง ๓ ลิงค์ ปุ. เช่น ป. เตวีสติ (ชนา) อ. ชน ท. ยี่สิบสาม อิต. เช่น ป. เตวีสติ (นาริโย) อ. นารี ท. ยี่สิบสาม นปุ. เช่น ป. เตวีสติ (วตฺถูนิ) อ. เรื่อง ท. ยี่สิบสาม

ศัพท์บาลี --->>เตสุ-->> คำแปล --->>ว. นั้น ดู ต ศัพท์ ปุ. รูป เดิม ต ลง สุ ส.ฝ่าย พหุ. สำเร็จรูปเป็น เตสุ คำเชื่อมเนื้อความ คือ ใน,ใกล้,ที่,ครั้นเมื่อ,ในเพราะ,เหนือ,บน,ณ __ท. เหล่านั้น

ศัพท์บาลี --->>เตสํ-->> คำแปล --->>ว. นั้น ดู ต ศัพท์ ปุ.,นปุ รูป เดิม ต ลง นํ จ.,ฉ.ฝ่าย พหุ. สำเร็จรูปเป็น เตสํ คำเชื่อมเนื้อความ คือ จ.: ด้วย,โดย,อัน,ตาม,เพราะ,มี,ด้วยทั้ง __ท. เหล่านั้น. ฉ.:แห่ง,ของ,เมื่อ __ท. เหล่านั้น.

ศัพท์บาลี --->>เตเนเวตํ-->> คำแปล --->>มาจาก เตน+เอว+เอตํ =เตเนเวตํ

ศัพท์บาลี --->>เตเมตฺวา-->> คำแปล --->>๑ ก. เปียกแล้ว ติม ธาตุ ในความเปียก + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย วิการ อิ ที่ ติม ธาตุ เป็น เอ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูป เป็น เตเมตฺวา

ศัพท์บาลี --->>เตเมตฺวา-->> คำแปล --->>๒ ก. ยัง…ให้เปียกแล้ว ติม ธาตุ ใน ความเปียก + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย วิการ อิ ที่ ติม ธาตุ เป็น เอ ลบ ณ เหลือ ไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น เตเมตฺวา

ศัพท์บาลี --->>เตโชกสิณารมฺมณ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ.(ฌาน) มีเตโชกสิณ เป็นอารมณ์ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. เตโชกสิณารมฺมณํ (ฌานํ) ยังฌาน อันมี เตโชกสิณเป็นอารมณ์ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพ พิหิสมาส วิ.ว่า เตโชกสิณํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ เตโชกสิณารมฺมณํ (ฌานํ) เตโชกสิณ เป็น อารมณ์ ของฌานใด ฌานนั้น ชื่อว่าอันมี เตโชกสิณเป็นอารมณ์

ศัพท์บาลี --->>เตโชธาตุ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (ฌาน) มีเตโชธาตุเป็นอารมณ์ แจกเหมือน วตฺถุ เช่น ทุ.เอก. เตโชธาตุ (ฌานํ) ซึ่งฌาน อันมีเตโชธาตุเป็นอารมณ์ เป็นฉัฏฐี ตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า เตโชธาตุ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ เตโชธาตุ (ฌานํ) เตโชธาตุ เป็นอารมณ์ ของฌานใด ฌานนั้น ชื่อว่าอันมี เตโชธาตุเป็นอารมณ์ [ลบ อารมฺมณํ]


คำศัทพ์