ศัพท์บาลี --->>อาห-->> คำแปล --->>ก. (เช่น สตฺถา อ. พระศาสดา ตรัสแล้ว, เถโร อ. พระเถระ กล่าวแล้ว, กราบทูลแล้ว) พฺรู ธาตุ ในความกล่าว + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อ ปโรกขาวิภัตติ แปลง พฺรู ธาตุ เป็น อาห สำเร็จรูปเป็น อาห

ศัพท์บาลี --->>อาหจฺจ-->> คำแปล --->>ก. จรดแล้ว อา + หน ธาตุ ในความจรด, ความฆ่า + ตูนาทิปัจจัย แปลงตูนาทิปัจจัย เป็น ย แปลง ย กับ น ที่สุดธาตุ เป็น จฺจ สำเร็จรูป เป็น อาหจฺจ

ศัพท์บาลี --->>อาหฏ-->> คำแปล --->>ก. อัน…นำมาแล้ว อา + หร ธาตุ ในความ นำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + ต ปัจจัย อาเทส ต เป็น ฏ ลบ ร ที่สุดธาตุ ได้รูปเป็น อาหฏ ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>อาหร-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จงนำมา อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหาร ธาตุ แปลว่า นำมา + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ ลบ หิ สำเร็จรูปเป็น อาหร

ศัพท์บาลี --->>อาหรณกาล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กาลเป็นที่นำมา แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. อาหรณกาเล ในกาลเป็นที่ นำมา เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า อาหรโณ กาโล = อาหรณกาโล คำว่า อาหรณ มาจาก อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + ยุ ปัจจัย แปลง ยุ เป็น อณ ได้รูปเป็น อาหรณ แปลว่า เป็นที่นำมา เป็นกัตตุรูป อธิกรณสาธนะ วิ.ว่า อาหรติ เอตฺถาติ อาหรโณ (กาโล) เขา ย่อมนำมา ในกาลนั่น เหตุนั้น กาลนั่น ชื่อว่า อาหรโณๆ เป็นที่นำมา

ศัพท์บาลี --->>อาหรติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น กุมฺภโฆสโก อ. นายกุมภโฆสก) ย่อมนำมา อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น อาหรติ

ศัพท์บาลี --->>อาหรถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) จงนำมา อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ถ ปัญจมีวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น อาหรถ

ศัพท์บาลี --->>อาหรนฺต-->> คำแปล --->>ก. เมื่อนำมา, นำมาอยู่ อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ได้รูปเป็น อาหรนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>อาหรนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชนา อ. ชน ท.) ย่อมนำมา อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + อ ปัจจัยใน กัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น อาหรนฺติ

ศัพท์บาลี --->>อาหราปิต-->> คำแปล --->>ก. อัน...ให้นำมาแล้ว อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป + ต ปัจจัย เป็นเหตุกัมม วาจก ลง อิ อาคม ลบ เอ ที่ เป ได้รูปเป็น อาหราปิต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>อาหรามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) ย่อมนำมา อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + มิ วัตต มานาวิภัตติ มิ อยู่หลัง ทีฆะ อ ที่สุดธาตุเป็น อา สำเร็จรูปเป็น อาหรามิ

ศัพท์บาลี --->>อาหราหิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จงนำมา อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + หิ ปัญจมี วิภัตติ หิ อยู่หลัง ทีฆะ อ ที่สุดธาตุเป็น อา สำเร็จรูป เป็น อาหราหิ

ศัพท์บาลี --->>อาหราเปตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง...ให้นำมาแล้ว อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + ณาเป ปัจจัย + ตฺวา ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น อาหราเปตฺวา

ศัพท์บาลี --->>อาหราเปสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เถโร อ.พระเถระ) ยัง… ให้นำ มาแล้ว อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + ณาเป ปัจจัย ในเหตุกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น อาหราเปสิ

ศัพท์บาลี --->>อาหริ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น สตฺถา อ. พระศาสดา) ทรงนำมา แล้ว อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + อ ปัจจัยใน กัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น อาหริ

ศัพท์บาลี --->>อาหริต-->> คำแปล --->>ก. อัน…นำมาแล้ว อา + หร ธาตุ ในความ นำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + ต ปัจจัย ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น อาหริต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>อาหริตพฺพปุปฺผ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ดอกไม้อัน…พึงนำมา เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส แจกเหมือน กุล เช่น ต.พหุ. อาหริตพฺพปุปฺเผหิ ด้วยดอกไม้ อัน…พึงนำมา ท. วิ.ว่า อาหริตพฺพานิ ปุปฺผานิ = อาหริตพฺพปุปฺผานิ คำว่า อาหริตพฺพ มาจาก อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + ตพฺพ ปัจจัย ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น อาหริตพฺพ ดู อชานิตพฺพ

ศัพท์บาลี --->>อาหริตุกาม-->> คำแปล --->>ว. ผู้ใคร่เพื่ออันนำมา ดู อตฺถริตุกาม

ศัพท์บาลี --->>อาหริตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันอัน…นำมา, เพื่ออันนำมา, เพื่อ อันกลืนกิน อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วย อำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา, กลืน กิน + ตุ ปัจจัย ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น อาหริตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>อาหริยติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ปณฺณากาโร อ. เครื่องบรรณาการ) อัน…ย่อมนำมา [ธ. ๓: วิฑูฑภวตฺถุ หน้า ๑๓] อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + อิ อาคม หน้า ย ปัจจัยในกัมมวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูป เป็น อาหริยติ

ศัพท์บาลี --->>อาหริยมาน-->> คำแปล --->>ก. อัน…นำมาอยู่ อา + หร ธาตุ ใน ความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + อิ อาคม หน้า ย ปัจจัยในกัมมวาจก + มาน ปัจจัย ได้รูปเป็น อาหริยมาน ดู อาชานมาน

ศัพท์บาลี --->>อาหริสฺสติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น อาจริโย อ. อาจารย์) จักนำมา [ธ. ๑: สญฺชยวตฺถุ หน้า ๙๘] อา + หร ธาตุ ในความ นำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสติ ภวิสสันติวิภัตติ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น อาหริสฺสติ

ศัพท์บาลี --->>อาหริสฺสนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น อิตฺถิโย อ. หญิง ท.) จักนำมา [ธ. ๒: สามาวตีวตฺถุ หน้า ๕๑] อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสนฺติ ภวิสสันติวิภัตติ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น อาหริสฺสนฺติ

ศัพท์บาลี --->>อาหริสฺสาม-->> คำแปล --->>ก. (มยํ อ. เรา ท.) จักนำมา อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหาร ธาตุ แปลว่า นำมา + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสาม ภวิสสันติวิภัตติ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น อาหริสฺสาม

ศัพท์บาลี --->>อาหริสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) จักนำมา อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหาร ธาตุ แปลว่า นำมา + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น อาหริสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>อาหรึสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชนา อ. ชน ท.) นำมาแล้ว [ธ. ๓: วิฑูฑภวตฺถุ หน้า ๑๙] อา + หร ธาตุ ในความ นำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง อุ เป็น อึสุ สำเร็จรูปเป็น อาหรึสุ

ศัพท์บาลี --->>อาหาร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อาหาร แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. อาหาโร อ. อาหาร

ศัพท์บาลี --->>อาหารกฺขย-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความสิ้นไปแห่งอาหาร แจก เหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. อาหารกฺขเยน ด้วย ความสิ้นไปแห่งอาหาร เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า อาหารสฺส ขโย = อาหารกฺขโย [ซ้อน กฺ]

ศัพท์บาลี --->>อาหารชรูปวส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สามารถ(อำนาจ)แห่งรูป อันเกิดแต่อาหาร แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. อาหารชรูปวเสน ด้วยสามารถแห่งรูปอันเกิดแต่ อาหาร เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มี กฺวิ ปัจจัย กัตตุรูป กัตตุสาธนะ และวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ กฺวิ.กัต.กัต.วิ. อาหารสฺมา ชายตีติ อาหารชํ (รูปํ) รูปใด ย่อมเกิด แต่อาหาร เหตุนั้น รูปนั้น ชื่อว่า อาหารชํๆ อันเกิดแต่อาหาร วิ.บุพ.กัม.วิ. อาหารชํ รูปํ = อาหารชรูปํ ฉ.ตัป.วิ. อาหารชรูปสฺส วโส = อาหารชรูปวโส คำว่า อาหารช ในคำว่า อาหารชรูปํ มาจาก อาหาร บทหน้า + ชน ธาตุ ในความเกิด + กฺวิ ปัจจัย ธาตุ ๒ ตัว ลบ น ที่สุดธาตุ ลบ กฺวิ ได้รูปเป็น อาหารช แปลว่า อันเกิดแต่อาหาร

ศัพท์บาลี --->>อาหารตณฺหา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ความอยากในอาหาร แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.เอก. อาหารตณฺหํ ซึ่ง ความอยากในอาหาร

ศัพท์บาลี --->>อาหารตฺถ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ประโยชน์แก่อาหาร แจกเหมือน ปุริส ดู อาภรณตฺถ

ศัพท์บาลี --->>อาหารปริเยสน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. การแสวงหาซึ่งอาหาร แจกเหมือน กุล เช่น ต.เอก. อาหารปริเยสเนน ด้วยการแสวงหาซึ่งอาหาร เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า อาหารสฺส ปริเยสนํ = อาหารปริเยสนํ คำว่า ปริเยสน ในคำว่า อาหารปริเยสเนน มาจาก ปริ บทหน้า + เอส ธาตุ ในความแสวงหา + ยุ ปัจจัย ลง ย อาคม แปลง ยุ เป็น อน ได้รูปเป็น ปริเยสน แปลว่า การแสวงหา เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า ปริเยสนํ = ปริเยสนํ การ แสวงหา ชื่อว่า ปริเยสนํๆ การแสวงหา [การแสวงหา เป็น ๒ ลิงค์ คือ อิต. เป็น ปริเยสนา นปุ. เป็น ปริเยสนํ]

ศัพท์บาลี --->>อาหารปริโภค-->> คำแปล --->>น.,ปุ. การบริโภคซึ่งอาหาร แจก เหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. อาหารปริโภเคน ด้วยการบริโภคซึ่งอาหาร เป็นทุติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า อาหารํ ปริโภโค = อาหารปริโภโค

ศัพท์บาลี --->>อาหารปริโภคมงฺคล-->> คำแปล --->>น.,นปุ. มงคลในเพราะการ บริโภคซึ่งอาหาร แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. อาหารปริโภคมงฺคเล ในมงคลในเพราะการ บริโภคซึ่งอาหาร เป็นสัตตมีตัปปุริสสมาส มีทุติยา ตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ทุ.ตัป.วิ. อาหารํ ปริโภโค = อาหารปริโภโค ส.ตัป.วิ. อาหารปริโภเค มงฺคลํ = อาหารปริโภค มงฺคลํ คำว่า ปริโภค ในคำว่า อาหารปริโภคกาเล มาจาก ปริ บทหน้า + ภุช ธาตุ ในความกิน, ความ บริโภค + ณ ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย พฤทธิ อุ ต้นธาตุเป็น โอ แปลง ช เป็น ค ได้รูปเป็น ปริโภค แปลว่า การบริโภค เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า ปริภุญฺชนํ = ปริโภโค การบริโภค ชื่อว่า ปริโภโคๆ การบริโภค

ศัพท์บาลี --->>อาหารมตฺต-->> คำแปล --->>ว. สักว่าอาหาร นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. อาหารมตฺตํ (วตฺถุ) อ. วัตถุ สักว่า อาหาร เป็นสัมภาวนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า อาหาโร อิติ มตฺตํ = อาหารมตฺตํ (วตฺถุ)

ศัพท์บาลี --->>อาหารสปฺปาย-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อาหารอันเป็นที่สบาย แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. อาหารสปฺปายํ อ. อาหารอันเป็นที่สบาย [ธ. ๒: อญฺญตรภิกฺขุ- หน้า ๑๒๑] เป็นวิเสสนุตตรบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า อาหารํ สปฺปายํ = อาหารสปฺปายํ [อาหาร จัดตามกำเนิดเป็นนปุงสกลิงค์ แต่จัดตามสมมติ เป็นปุงลิงค์ และส่วนมากอยู่ในรูปทุติยาวิภัตติ แต่ในเรื่องภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง ซึ่งสมาสกับ สปฺปาย เป็นปฐมาวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ นปุงสกลิงค์]

ศัพท์บาลี --->>อาหารุปจฺเฉท-->> คำแปล --->>น.,ปุ. การเข้าไปตัดซึ่งอาหาร แจกเหมือน ปุริส เช่น ท.เอก. อาหารุปจฺเฉทํ ซึ่ง การเข้าไปตัดซึ่งอาหาร เป็นทุติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า อาหารํ อุปจฺเฉโท = อาหารุปจฺเฉโท คำว่า อุปจฺเฉท มาจาก อุป + ฉิท ธาตุ ในความตัด + ณ ปัจจัย ซ้อน จฺ หน้า ฉิท ธาตุ ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย วิการ อิ ที่ ฉิท ธาตุ เป็น เอ ลบ ณ ได้รูปเป็น อุปจฺเฉท แปลว่า การเข้าไปตัด เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า อุปจฺเฉทนํ = อุปจฺเฉโท

ศัพท์บาลี --->>อาหิณฺฑิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. เที่ยวไปแล้ว อา + หิฑิ ธาตุ ใน ความเที่ยวไป + ตฺวา ปัจจัย ลงนิคคหิตอาคมที่ พยัญชนะต้นธาตุ (อาหึฑิ + ตฺวา) แล้วแปลง นิคคหิตเป็น ณฺ เพราะ ฑ อยู่หลัง สำเร็จรูปเป็น อาหิณฺฑิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>อาหิต-->> คำแปล --->>ก.กิ. ของ อา+ธา สุมขึ้นไป,กองไว้ ; ตระเตรียมเชื้อเพลิง (พูดถึงไฟ),ลุกโพลง สุตฺ.นิ.18 (คินิ=อาภโต ชลิโต วา สุตฺ.นิ.28). ดู สมํ.

ศัพท์บาลี --->>อาหุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น โปราณา อ. อาจารย์ผู้มีในกาลก่อน ท.) กล่าวแล้ว [ธ. ๑: จกฺขุปาล- หน้า ๑๖] พฺรู ธาตุ ในความกล่าว + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ ปโรกขา วิภัตติ แปลง พฺรู ธาตุ เป็น อาห สำเร็จรูปเป็น อาหุ

ศัพท์บาลี --->>อาหเรยฺยาถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) พึงนำมา อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + อ ปัจจัยใน กัตตุวาจก + เอยฺยาถ สัตตมีวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น อาหเรยฺยาถ

ศัพท์บาลี --->>อาหเรยฺยํุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น มนุสฺสา อ. มนุษย์ ท.) พึงนำมา [ธ. ๒: สกฺกวตฺถุ หน้า ๙๘] อา + หร ธาตุ ในความ นำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัคสังหารธาตุ แปลว่า นำมา + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + เอยฺยํุ สัตตมีวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น อาหเรยฺยํุ

ศัพท์บาลี --->>อาหเรสึ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) กลืนกินแล้ว อา + หร ธาตุ ในความนำไป ด้วยอำนาจ อา อุปสัค แปลว่า กลืนกิน + เอ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อึ อัชชัตตนี วิภัตติ ลง ส อาคม สำเร็จรูปเป็น อาหเรสึ

ศัพท์บาลี --->>อาหํสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ปณฺฑิตมนุสฺสา อ. มนุษย์ผู้เป็น บัณฑิต ท.) กล่าวแล้ว [ธ. ๑: จกฺขุปาล- หน้า ๘] พฺรู ธาตุ ในความกล่าว + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง พฺรู ธาตุ เป็น อาห แปลง อุ เป็น อํสุ สำเร็จรูปเป็น อาหํสุ


คำศัทพ์