ศัพท์บาลี --->>อฏฺ-->> คำแปล --->>ว. แปด {ฉ (๖) ถึง อฏฺารส (๑๘)} แจกเหมือน ปญฺจ เป็นได้ทั้ง ๓ ลิงค์ เฉพาะพหุวจนะ เช่น ป.พหุ. อฏฺ (ชนา) อ.ชน ท. แปด ทำตัว อฏฺ ศัพท์เดิมเป็น อฏฺ ลง โย ปฐมาวิภัตติ ฝ่ายพหุวจนะ ลง โย ลบ โย เสีย สำเร็จรูปเป็น อฏฺ

ศัพท์บาลี --->>อฏฺกรีสมตฺต-->> คำแปล --->>ว. มีกรีสแปดเป็นประมาณ นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. อฏฺกรีสมตฺตํ (านํ) เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีสมาหาร ทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทิคุ. อฏฺ กรีสานิ = อฏฺกรีสํ กรีส ท. แปด ชื่อว่ากรีสแปด ฉ.ตุล.วิ. อฏฺกรีสํ มตฺตํ ยสฺส ตํ อฏฺกรีสมตฺตํ (านํ) กรีสแปด เป็นประมาณ ของที่ใด ที่นั้น ชื่อว่ามีกรีสแปดเป็นประมาณ [๑ กรีส = ๔๐ ตารางเมตร]

ศัพท์บาลี --->>อฏฺจตฺตาฬีส-->> คำแปล --->>ว.,อิต. สี่สิบแปด แจกเหมือน เอกูนวีส ศัพท์เดิมเป็น อฏฺจตฺตาฬีส สิ ปฐมา วิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ ลง สิ ลบ สิ เสีย สำเร็จรูปเป็น อฏฺจตฺตาฬีส (เป็นวิเสสนะของนามได้ทั้ง ๓ ลิงค์ แต่นามนั้น ต้องเป็นพหุวจนะเท่านั้น)

ศัพท์บาลี --->>อฏฺฏฺกหาปณ-->> คำแปล --->>น.,ปุ.,นปุ. กหาปณะแปดและ กหาปณะแปด ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.พหุ. อฏฺฏฺกหาปเณ ซึ่งกหาปณแปดและกหาปณะ แปด ท. เป็นอสมาหารทวันทวสมาส มีอสมาหาร ทิคุสมาส และอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ. วิ. อฏฺ กหาปณา = อฏฺกหาปณา อ.ทิคุ.วิ. อฏฺ กหาปณา = อฏฺกหาปณา อ.ทวัน.วิ. อฏฺกหาปณา จ อฏฺกหาปณา จ = อฏฺฏฺกหาปณา [บทสมาส ลบ กหาปณ ศัพท์หน้า]

ศัพท์บาลี --->>อฏฺปญฺญาสหตฺถุพฺเพธ-->> คำแปล --->>ว. มีศอกห้าสิบแปด เป็นส่วนสูง ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. อฏฺปญฺญาสหตฺถุพฺเพโธ (อตฺตภาโว) อ. อัตภาพ มีศอกห้าสิบแปดเป็นส่วนสูง เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณ พหุพพิสมาส มีอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. อฏฺปญฺญาสํ หตฺถา = อฏฺปญฺญาสหตฺถา ศอก ท. ห้าสิบแปด ชื่อว่าศอกห้าสิบแปด ท. ฉ.ตุล.วิ. อฏฺปญฺญาสหตฺถา อุพฺเพโธ ยสฺส โส อฏฺปญฺญาสหตฺถุพฺเพโธ (อตฺตภาโว) ศอกห้าสิบแปด ท. เป็นความสูง ของอัตภาพ ใด อัตภาพนั้น ชื่อว่ามีศอกห้าสิบแปดเป็น ความสูง นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. อฏฺปญฺญาสหตฺถุพฺเพธํ (สรีรํ) อ. สรีระ มีศอก ห้าสิบแปดเป็นส่วนสูง

ศัพท์บาลี --->>อฏฺปริกฺขารธร-->> คำแปล --->>ว. ผู้ทรงไว้ซึ่งบริขารแปด ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. อฏฺปริกฺขารธโร (เถโร) อ. พระเถระ ผู้ทรงไว้ซึ่งบริขารแปด ลง อ ปัจจัย กัตตุรูป กัตตุสาธนะ มีอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. อฏฺ ปริกฺขารา = อฏฺปริกฺขารา อ.กัต.กัต.วิ. อฏฺปริกฺขาเร ธาเรตีติ = อฏฺปริกฺขารธโร (เถโร) คำว่า ธร ในคำว่า อฏฺปริกฺขารธโร มาจาก ธร ธาตุ ในความทรงไว้ + อ ปัจจัย ได้รูปเป็น ธร แปลว่า ผู้ทรงไว้

ศัพท์บาลี --->>อฏฺม-->> คำแปล --->>ว. ที่แปด ศัพท์เดิมเป็น อฏ แปลว่า แปด ลง ม ปัจจัย ในปูรณตัทธิต สำเร็จรูป อฏฺม แปลว่า ที่แปด เป็นได้ทั้ง ๓ ลิงค์ เฉพาะฝ่ายเอก วจนะ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. อฏฺโม (ทิวโส) = อ. วัน ที่แปด วิ.ว่า อฏฺนฺนํ (ทิวสานํ) ปูรโณ = อฏฺโม (ทิวโส) วัน เป็นที่เต็ม แห่งวัน ท. แปด ชื่อว่าที่แปด อิต. ลง อี เป็นเครื่องหมาย อิตถีลิงค์บ้าง เช่น ป.เอก. อฏฺมี (ติถิ) = อ. ดิถี ที่แปด ลง อา เครื่องหมายอิตถีลิงค์บ้าง เช่น ป.เอก. อฏฺมา (ธีตา) อ. ธิดา คนที่แปด นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. อฏฺมํ (วตฺถุ) อ. เรื่อง ที่แปด

ศัพท์บาลี --->>อฏฺมาส-->> คำแปล --->>น. เดือนแปด ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. อฏฺมาสา อ. เดือนแปด ท. นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.พหุ. อฏฺมาสานิ สิ้นเดือนแปด ท. เป็น อสมาหารทิคุสมาส วิ.ว่า อฏฺ มาสา = อฏฺมาสา หรือวิ.ว่า อฏฺ มาสานิ = อฏฺมาสานิ

ศัพท์บาลี --->>อฏฺมีทิวส-->> คำแปล --->>น. วันคือดิถีที่แปด ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. อฏฺมีทิวโส อ. วันคือดิถีที่แปด นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. อฏฺมีทิวสํ อ. วันคือดิถีที่แปด เป็นอวธารณบุพพบท กัมม ธารยสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. อฏฺมี ติถิ = อฏฺมีติถิ อว.บุพ.กัม.วิ. อฏฺมีติถิ เอว ทิวโส = อฏฺมีทิวโส

ศัพท์บาลี --->>อฏฺสฏฺิสมณสตสหสฺสปริวาร-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีแสนแห่ง สมณะหกสิบแปดเป็นบริวาร ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. อฏฺสฏฺิสมณสตสหสฺส- ปริวาโร (สตฺถา) อ. พระศาสดา ผู้มีแสนแห่งสมณะ หกสิบแปดเป็นบริวาร เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณ พหุพพิหิสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส และอสมา หารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. สมณานํ สตสหสฺสานิ = สมณ- สตสหสฺสานิ อ.ทิคุ.วิ. อฏฺสฏฺี สมณสต- สหสฺสานิ = อฏฺสฏฺิสมณสตสหสฺสานิ ฉ.ตุล.วิ. อฏฺสฏฺิสมณสตสหสฺสานิ ปริวารานิ ยสฺส โส อฏฺสฏฺิสมณสตสหสฺสปริวาโร (สตฺถา)

ศัพท์บาลี --->>อฏฺสฏฺิโยชนสตสหสฺสุพฺเพธ-->> คำแปล --->>วิ. อันมีแสนแห่ง โยชน์หกสิบแปดเป็นส่วนสูง ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. อฏฺสฏฺิโยชนสตสหสฺสุพฺเพโธ (สิเนรุ) อ. ภูเขาสิเนรุ อันมีแสนแห่งโยชน์ หกสิบแปดเป็นส่วนสูง เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณ พหุพพิหิสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส และอสมา หารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. โยชนานํ สตสหสฺสานิ = โยชน สตสหสฺสานิ อ.ทิคุ.วิ. อฏฺสฏฺี โยชนสต- สหสฺสานิ = อฏฺสฏฺิโยชนสตสหสฺสานิ ฉ.ตุล.วิ. อฏฺสฏฺิโยชนสตสหสฺสานิ อุพฺเพโธ ยสฺส โส อฏฺสฏฺิโยชนสตสหสฺสุพฺเพโธ (สิเนรุ)

ศัพท์บาลี --->>อฏฺหตฺถ-->> คำแปล --->>ว. อันมีศอกแปดเป็นประมาณ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. อฏฺหตฺโถ (สาฏโก) อ. ผ้าสาฎก อันมีศอกแปดเป็นประมาณ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มี สมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตาม ลำดับ ดังนี้ ส.ทิคุ.วิ. อฏฺ หตฺถา = อฏฺหตฺถํ ฉ.ตุล.วิ. อฏฺหตฺถํ ปมาณํ ยสฺส โส อฏฺหตฺโถ (สาฏโก) [บทสมาส (บทปลง) เป็นปัจฉิมโลป คือ ลบในที่สุด หมายความว่า แทนที่จะเป็น อฏฺหตฺถปมาโณ แต่ลบ ปมาณ เหลือเพียง อฏฺหตฺโถ] หรือแปลว่าอันมีศอกแปด ก็ได้ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า อฏฺ หตฺถา ยสฺส โส อฏฺหตฺโถ (สาฏโก) ศอก ท. ของผ้าสาฎกใด แปด ผ้าสาฎกนั้น ชื่อว่ามี ศอกแปด

ศัพท์บาลี --->>อฏฺหตฺถสาฏก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ผ้าสาฎกอันมีศอกแปด แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. อฏฺหตฺถสาฏโก อ. ผ้าสาฎกอันมีศอกแปด เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. อฏฺ หตฺถา ยสฺส โส อฏฺหตฺโถ (สาฏโก) วิ.บุพ. กัม.วิ. อฏฺหตฺโถ สาฏโก = อฏฺหตฺถสาฏโก

ศัพท์บาลี --->>อฏฺารสพฺรหฺมโกฏิ-->> คำแปล --->>น.,อิต. โกฏิแห่งพรหมสิบแปด แจกเหมือน รตฺติ เช่น ป.พหุ. อฏฺารสพฺรหฺม- โกฏิโย อ. โกฏิแห่งพรหมสิบแปด ท. เป็นอสมาหาร ทิคุสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. พฺราหฺมานํ โกฏิโย = พฺรหฺมโกฏิโย อ.ทิคุ.วิ. อฏฺารส พฺรหฺมโกฏิโย = อฏฺารสพฺรหฺมโกฏิโย

ศัพท์บาลี --->>อฏฺารสโกฏิสงฺขาต-->> คำแปล --->>ว. อัน…นับพร้อมแล้วว่า โกฏิสิบแปด ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น อฏฺารส- โกฏิสงฺขาโต (เทวคโณ) อ. หมู่แห่งเทพ อันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าโกฏิสิบแปด เป็น สัมภาวนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีอสมาหาร ทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. อฏฺารส โกฏิโย = อฏฺารสโกฏิโย สัม.บุพ.กัม.วิ. อฏฺารสโกฏิโย อิติ สงฺขาโต = อฏฺารสโกฏิสงฺขาโต (เทวคโณ)

ศัพท์บาลี --->>อฏฺาสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เถโร อ.พระเถระ) ได้ยืนอยู่แล้ว อ อาคม + า ธาตุ ในความยืนอยู่, ตั้งอยู่, ดำรงอยู่ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ซ้อน ฏฺ หน้า  รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น อฏฺาสิ

ศัพท์บาลี --->>อฏฺิก-->> คำแปล --->>น.,นปุ. กระดูก แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.พหุ. อฏฺิกานิ ซึ่งกระดูก ท.

ศัพท์บาลี --->>อฏฺิกลฺยาณํ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ความงามแห่งกระดูก แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. อฏฺิกลฺยาณํ อ. ความงามแห่งกระดูก

ศัพท์บาลี --->>อฏฺิมิญฺช-->> คำแปล --->>น.,นปุ. เยื่อในกระดูก แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. อฏฺิมิญฺชํ ซึ่งเยื่อในกระดูก เป็น สัตตมีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า อฏฺิสฺมึ มิญฺชํ = อฏฺิมิญฺชํ

ศัพท์บาลี --->>อฏฺิสฺสร-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. อัฏฐิสสระ (นามของพระปัจเจก พุทธเจ้า) แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. อฏฺิสฺสโร (ปจฺเจกพุทฺโธ) อ. พระปัจเจกพุทธเจ้า นามว่า อัฏฐิสสระ

ศัพท์บาลี --->>อฏฺิเภทนิสฺสนฺท-->> คำแปล --->>วิ.,ปุ. เป็นเครื่องไหลออกแห่ง อันทำลายซึ่งกระดูก แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. อฏฺิเภทนิสฺสนฺเทน (วิปาเกน) เพราะวิบากเป็น เครื่องไหลออกแห่งอันทำลายซึ่งกระดูก เป็นฉัฏฐี ตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. อฏฺีนํ เภโท = อฏฺิเภโท ฉ.ตัป.วิ. อฏฺิเภทสฺส นิสฺสนฺโท = อฏฺิเภทนิสฺสนฺโท (วิปาโก)

ศัพท์บาลี --->>อฏฺํสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชนา อ.ชน ท.) ได้ยืนอยู่แล้ว อ อาคม + า ธาตุ ในความยืนอยู่, ตั้งอยู่, ดำรงอยู่ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ ซ้อน ฏฺ หน้า  รัสสะ อา ที่ า เป็น อ แปลง อุ เป็น อึสุ สำเร็จรูปเป็น อฏฺํสุ

ศัพท์บาลี --->>อฏฺ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. กระดูก แจกเหมือน อกฺขิ เช่น ป.พหุ. อฏฺีนิ อ. กระดูก ท.


คำศัทพ์