มีข้อมูลที่ใกล้เคียงคือ

ศัพท์บาลี --->>สิกฺขา-->> คำแปล --->>น.,อิต. สิกขา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.เอก. สิกฺขํ ซึ่งสิกขา

ศัพท์บาลี --->>สิกฺขาปท-->> คำแปล --->>น.,นปุ. สิกขาบท แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. สิกฺขาปทํ ซึ่งสิกขาบท

ศัพท์บาลี --->>สิกฺขาปทคฺคหณตฺถาย-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เพื่อประโยชน์แก่การรับซึ่งสิกขาบท ดู สาสนาหรณตฺถาย

ศัพท์บาลี --->>สิกฺขาปิต-->> คำแปล --->>ก. อัน…ให้สำเหนียกแล้ว สิกฺข ธาตุ ในความศึกษา,ความสำเหนียก + ณาเป ปัจจัยใน เหตุกัตตุวาจก + ต ปัจจัยเป็นเหตุกัมมวาจก ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป ลง อิ อาคม เป็น สิกฺขาเป + อิ + ต ลบสระหน้าคือ เอ ที่ เป ได้รูปเป็น สิกฺขาปิต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>สิกฺขาเปตุ-->> คำแปล --->>น. อ.อันให้ศึกษา, เพื่ออันยัง…ให้ศึกษา สิกฺข ธาตุ ในความศึกษา, ความสำเหนียก + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น สิกฺขาเปตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>สิกฺขาเปตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง...ให้ศึกษาแล้ว สิกฺข ธาตุ ในความศึกษา + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น สิกฺขาเปตฺวา

ศัพท์บาลี --->>สิกฺขาเปนฺต-->> คำแปล --->>ก. ยัง...ให้ศึกษาอยู่ สิกฺข ธาตุ ในความศึกษา + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป ได้รูปเป็น สิกฺขาเปนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>สิกฺขาเปสฺสติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เสฏฺ อ. เศรษฐี) ยัง...จักให้ศึกษา สิกฺข ธาตุ ในความศึกษา + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + สฺสติ ภวิสสันติวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น สิกฺขาเปสฺสติ

ศัพท์บาลี --->>สิกฺขาเปสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) ยัง...จักให้ศึกษา สิกฺข ธาตุ ในความศึกษา + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น สิกฺขาเปสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>สิกฺขิตพฺพ-->> คำแปล --->>ก. อัน…พึงศึกษา สิกฺข ธาตุ ในความศึกษา + ตพฺพ ปัจจัย ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น สิกฺขิตพฺพ ดู อชานิตพฺพ

ศัพท์บาลี --->>สิกฺขิตหตฺถ-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีมืออันศึกษาแล้ว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. สิกฺขิตหตฺถา (มยํ) อ. เรา ท. ผู้มีมืออันศึกษาแล้ว เป็นตติยาตุลยา ธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า สิกฺขิโต หตฺโถ เยหิ เต สิกฺขิตหตฺถา (มยํ)

ศัพท์บาลี --->>สิกฺขิตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันอัน…ศึกษา, เพื่ออันศึกษา สิกฺข ธาตุ ในความศึกษา + ตุ ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น สิกฺขิตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>สิกฺขิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ศึกษาแล้ว สิกฺข ธาตุ ในความศึกษา + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น สิกฺขิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>สิขี-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. สิขี (พระนามของพระพุทธเจ้า) แจก เหมือน เสฏฺ เช่น ป.เอก. สิขี (พุทฺโธ) อ. พระพุทธเจ้า พระนามว่าสิขี

ศัพท์บาลี --->>สิงฺคธนุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. ธนูอันมีสัณฐานเพียงดังเขา เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีฉัฏฐี ตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. สิงฺคํ อิว สณฺานํ ยสฺส ตํ สิงฺคสณฺานํ (ธนุ) วิ.บุพ.กัม.วิ. สิงฺคสณฺานํ ธนุ = สิงฺคธนุ [บทสมาส ลบ สณฺาน ในท่ามกลาง]

ศัพท์บาลี --->>สิงฺคิล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นกขมิ้น แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สิงฺคิโล อ. นกขมิ้น

ศัพท์บาลี --->>สิงฺคิลสกุณ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นกขมิ้น แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สิงฺคิลสกุโณ อ. นกขมิ้น

ศัพท์บาลี --->>สิต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. การแย้ม แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. สิตํ ซึ่งการแย้ม

ศัพท์บาลี --->>สิตการณ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. เหตุแห่งการแย้ม แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. สิตการณํ ซึ่งเหตุแห่งการแย้ม เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สิตสฺส การณํ = สิตการณํ

ศัพท์บาลี --->>สิทฺธตฺถ-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. สิทธัตถะ (พระนามของพระราชกุมาร, พระนามของพระพุทธเจ้า) แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สิทฺธตฺโถ (พุทฺโธ) อ. พระพุทธเจ้า พระนามว่าสิทธัตถะ

ศัพท์บาลี --->>สิทฺธตฺถก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เมล็ดพันธุ์ผักกาด แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สิทฺธตฺถโก อ. เมล็ดพันธุ์ผักกาด

ศัพท์บาลี --->>สินิทฺธ-->> คำแปล --->>ว. อันสนิท เป็นได้ ๓ ลิงค์ อิต. แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. สินิทฺธา ยาคุ = อ. ข้าวต้ม อันสนิท

ศัพท์บาลี --->>สินิทฺธยาคุ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ข้าวต้มอันสนิท แจกเหมือน รชฺชุ เช่น ทุ.เอก. สินิทฺธยาคุ ซึ่งข้าวต้มอันสนิท เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า สินิทฺธา ยาคุ = สินิทฺธยาคุ

ศัพท์บาลี --->>สินฺธว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ม้าสินธพ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สินฺธโว อ. ม้าสินธพ

ศัพท์บาลี --->>สินฺธวสหสฺส-->> คำแปล --->>น.,นปุ. พันแห่งม้าสินธพ ดู อตฺตภาวสหสฺส

ศัพท์บาลี --->>สิปฺป-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ศิลปะ แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. สิปฺปํ อ. ศิลปะ

ศัพท์บาลี --->>สิปฺปุคฺคหณ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อัน (การ) เรียนเอาซึ่ง ศิลปะ แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. สิปฺปุคฺคหณํ อ. การเรียนเอาซึ่งศิลปะ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สิปฺปสฺส อุคฺคหณํ = สิปฺปุคฺคหณํ คำว่า อุคฺคหณ ในคำว่า สิปฺปุคฺคหณ มาจาก อุ บทหน้า + คห ธาตุ ในความเรียนเอา + ยุ ปัจจัย ซ้อน อุ หน้า คห ธาตุ แปลง ยุ เป็น อณ ได้รูปเป็น อุคฺคหณ แปลว่า การเรียนเอา เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า อุคฺคหณํ = อุคฺคหณํ

ศัพท์บาลี --->>สิปฺปุคฺคหณตฺถาย-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เพื่อประโยชน์แก่การเรียนเอาซึ่งศิลปะ ศัพท์เดิมเป็น สิปฺปุคฺคหณตฺถ อ การันต์ในปุงลิงค์ ลง ส จตุตถีวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ แปลง อ กับ ส เป็น อาย สำเร็จรูปเป็น สิปฺปุคฺคหณตฺถาย แจกเหมือน ปุริส เป็นจตุตถีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. สิปฺปสฺส อุคฺคหณํ = สิปฺปุคฺคหณํ จตุ.ตัป. สิปฺปุคฺ- คหณสฺส อตฺโถ = สิปฺปุคฺคหณตฺโถ

ศัพท์บาลี --->>สิพฺพิตุ-->> คำแปล --->>น. อ.อันเย็บ, เพื่ออันเย็บ สิว ธาตุ ใน ความเย็บ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย แปลง ว กับ ย เป็น พฺพ ลง อิ อาคม สำเร็จรูป เป็น สิพฺพิตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>สิพฺพิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. เย็บแล้ว สิว ธาตุ ในความเย็บ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย แปลง ว กับ ย เป็น พฺพ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น สิพฺพิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>สิมฺพลิวน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ป่าแห่งไม้งิ้ว แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. สิมฺพลิวนํ ซึ่งป่าแห่งไม้งิ้ว เป็นฉัฏฐี ตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สมฺพลิยา วนํ = สิมฺพลิวนํ

ศัพท์บาลี --->>สิยา-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ภิกฺขุ อ. ภิกษุ) พึงมี, พึงเป็น อส ธาตุ ในความมี,ความเป็น + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + เอยฺย สัตตมีวิภัตติ ลบ อ ต้นธาตุ เหลือไว้แต่ ส แปลง เอยฺย เป็น อิยา สำเร็จรูปเป็น สิยา

ศัพท์บาลี --->>สิยุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ญาตกา อ. ญาติ ท.) พึงเป็น อส ธาตุ ในความมี, ความเป็น + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + เอยฺยุ สัตตมีวิภัตติ ลบ อ ต้นธาตุ เหลือไว้แต่ ส แปลง เอยฺยุ เป็น อิยุ สำเร็จรูปเป็น สิยุ

ศัพท์บาลี --->>สิร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ศีรษะ แจกเหมือน มน ศัพท์ เช่น ต.เอก. สิรสา ด้วยศีรษะ

ศัพท์บาลี --->>สิริคพฺภ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ห้องอันประกอบแล้วด้วยสิริ แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. สิริคพฺเภ ในห้องอันประกอบแล้วด้วยสิริ เป็นตติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สิริยา (นิยุตฺโต) คพฺโภ = สิริคพฺโภ

ศัพท์บาลี --->>สิริคุตฺต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สิริคุต แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สิริคุตฺโต อ. สิริคุต

ศัพท์บาลี --->>สิริวฑฺฒ-->> คำแปล --->>๑ น.,ปุ. สิริวัฑฒ์ แจกเหมือน ปุริส เช่น อา.เอก. สิริวฑฺฒ ดูก่อนสิริวัฑฒ์

ศัพท์บาลี --->>สิริวฑฺฒ-->> คำแปล --->>๒ ว.,ปุ. สิริวัฑฒ์ (ชื่อของกุฎุมพี) แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สิริวฑฺโฒ (กุฏุมฺพิโก) อ. กุฎุมพี ชื่อว่าสิริวัฑฒ์

ศัพท์บาลี --->>สิริวฑฺฒกุฏุมฺพิก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กุฎุมพีชื่อว่าสิริวัฑฒ์ แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สิริวฑฺฒกุฏุมฺพิโก อ. กุฎุมพีชื่อว่าสิริวัฑฒ์ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า สิริวฑฺโฒ กุฏุมฺพิโก = สิริวฑฺฒกุฏุมฺพิโก

ศัพท์บาลี --->>สิริสมฺปตฺติ-->> คำแปล --->>น.,อิต. สมบัติอันเป็นสิริ แจกเหมือน รตฺติ เช่น ป.เอก. สิริสมฺปตฺติ อ. สมบัติอันเป็นสิริ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า สิริ สมฺปตฺติ = สิริสมฺปตฺติ

ศัพท์บาลี --->>สิริสยน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. (ที่) เป็นที่นอนอันประกอบแล้วด้วยสิริ แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. สิริสยเน (าเน) บนที่เป็นที่นอนอันประกอบแล้วด้วยสิริ เป็นตติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สิริยา (นิยุตฺตํ) สยนํ = สิริสยนํ (านํ)

ศัพท์บาลี --->>สิลา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ศิลา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. สิลา อ. ศิลา

ศัพท์บาลี --->>สิลาถมฺภ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เสาอันเป็นวิการแห่งศิลา แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. สิลาถมฺภํ ซึ่งเสาอันเป็นวิการแห่งศิลา เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สิลาย (วิกาโร) ถมฺโภ = สิลาถมฺโภ

ศัพท์บาลี --->>สิวิกา-->> คำแปล --->>น.,อิต. วอ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.พหุ. สิวิกาโย ซึ่งวอ ท.

ศัพท์บาลี --->>สิสฺส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นักเรียน, ศิษย์. วิ. โสตุํ อิจฺฉตีติ สิสฺโส (ผู้ปรารถนา ผู้ต้องการเพื่ออันฟัง). (พจนานุกรม มคธ-ไทย โดย พันตรี ป.หลงสมบุญ หน้า ๗๔๘)

ศัพท์บาลี --->>สิเนรุ-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. สิเนรุ (ชื่อของภูเขา) แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. สิเนรุนา (ปพฺพเตน) ด้วยภูเขา ชื่อว่าสิเนรุ

ศัพท์บาลี --->>สิเนห-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความรัก แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก สิเนโห อ. ความรัก

ศัพท์บาลี --->>สิเนหปฺปภว-->> คำแปล --->>ว. อันมีความรักเป็นแดนเกิดก่อน นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ฉ.เอก. สิเนหปฺปภวสส (ภุกฺกรณสฺส) แห่งการเห่า อันมีความรักเป็นแดน เกิดก่อน เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า สิเนโห ปภโว ยสฺส ตํ สิเนหปฺปภวํ (ภุกฺกรณํ) คำว่า ปภว ในคำว่า สิเนหปฺปภว มาจาก ป บทหน้า + ภู ธาตุ ในความมี, ความ เป็น ด้วยอำนาจ ป อุปสัค แปลว่า เกิด + ณ ปัจจัย พฤทธิ อู เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ได้รูปเป็น ปภว แปลว่า เป็นแดนเกิดก่อน เป็นกัตตุรูป อปาทานสาธนะ วิ.ว่า (ภุกฺกรณํ) ปมํ ภวติ เอตสฺมาติ ปภโว (สิเนโห) การเห่า ย่อมเกิด ก่อน แต่ความรักนั่น เหตุนั้น ความรักนั่น ชื่อว่า เป็นแดนเกิดก่อน

ศัพท์บาลี --->>สิเนหสตฺต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สัตว์ผู้ประกอบแล้วด้วยความรัก แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สิเนหสตฺโต อ. สัตว์ผู้ประกอบแล้วด้วยความรัก เป็นตติยา ตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สิเนเหน (นิยุตฺโต) สตฺโต = สิเนหสตฺโต


คำศัทพ์