มีข้อมูลที่ใกล้เคียงคือ

ศัพท์บาลี --->>สาก-->> คำแปล --->>๑ น.,ปุ. เจ้าศากยะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สาโก อ. เจ้าศากยะ คำว่า สาก มาจาก สก ธาตุในความองอาจ, ความสามารถ + ณ ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ ได้รูปเป็น สาก แปลว่า ผู้องอาจ, ผู้สามารถ เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ วิ.ว่า สกตีติ สาโก ผู้ใด ย่อมองอาจ, ย่อมสามารถ เหตุนั้น ผู้นั้น ชื่อว่า สาโกๆ ผู้องอาจ, ผู้สามารถ [แปลเอาความว่า เจ้าศากยะ]

ศัพท์บาลี --->>สาก-->> คำแปล --->>๒ น.,ปุ.,นปุ. นํ้าผักดอง ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สาโก อ. นํ้าผักดอง นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. สากํ อ. นํ้าผักดอง

ศัพท์บาลี --->>สากจฺฉา-->> คำแปล --->>น.,อิต. การสนทนา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.เอก. สากจฺฉํ ซึ่งการสนทนา

ศัพท์บาลี --->>สากิย-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เจ้าศากยะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. สากิยา อ. เจ้าศากยะ ท.

ศัพท์บาลี --->>สากิยวํส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. วงศ์แห่งเจ้าศากยะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สากิยวํโส อ. วงศ์แห่งเจ้าศากยะ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สากิยสฺส วํโส = สากิยวํโส

ศัพท์บาลี --->>สากิยานี-->> คำแปล --->>ว.,อิต. ผู้สากิยานี แจกเหมือน นารี เช่น ป.เอก. สากิยานี ชนปทกลฺยาณี = อ. นางชนบทกัลยาณี ผู้สากิยานี. ชื่อวงศ์กษัตริย์วงศ์หนึ่งในเมืองกบิลพัสดุ์ เรียกว่า ศากยวงศ์ หรือ สากิยวงศ์, เรียกกษัตริย์ในวงศ์นี้ ว่า ศากยะ หรือ สากิยะ, ถ้าเพศหญิง ใช้ว่า สากิยา หรือ สากิยานี.

ศัพท์บาลี --->>สากุณิก-->> คำแปล --->>ว. ผู้ฆ่าซึ่งนกเป็นอยู่ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สากุณิโก (ชโน) อ. ชน ผู้ฆ่าซึ่งนกเป็นอยู่ ลง ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต วิ.ว่า สกุเณ หนฺตฺวา ชีวตีติ สากุณิโก (ชโน)

ศัพท์บาลี --->>สาขา-->> คำแปล --->>น.,อิต. กิ่งไม้ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. สาขา อ. กิ่งไม้

ศัพท์บาลี --->>สาขาทณฺฑก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ท่อนแห่งกิ่งไม้ แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. สาขาทณฺฑเกน ด้วยท่อน แห่งกิ่งไม้ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สาขาย ทณฺฑโก = สาขาทณฺฑโก

ศัพท์บาลี --->>สาขาภงฺคา-->> คำแปล --->>น.,อิต. กิ่งไม้อันบุคคลพึงหัก แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.เอก. สาขาภงฺคํ ซึ่งกิ่งไม้อันบุคคลพึงหัก เป็นวิเสสนุตตรบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า สาขา ภงฺคา = สาขาภงฺคา

ศัพท์บาลี --->>สาขาวิฏปปลาสานิ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. กิ่งและค่าคบและ ใบอ่อน ท. เป็นอสมาหารทวันทวสมาส วิ.ว่า สาขา จ วิฏโป จ ปาลาสญฺจ = สาขาวิฏป- ปลาสานิ แจกเหมือน กุล เฉพาะฝ่ายพหุ.

ศัพท์บาลี --->>สาคลนคร-->> คำแปล --->>น.,นปุ. พระนครชื่อว่าสาคละ แจกเหมือน กุล ดู สาเกตนคร

ศัพท์บาลี --->>สาฏก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ผ้าสาฎก แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สาฏโก อ. ผ้าสาฎก

ศัพท์บาลี --->>สาฏกสต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ร้อยแห่งผ้าสาฎก ดู อตฺต- ภาวสต

ศัพท์บาลี --->>สาฏกสหสฺส-->> คำแปล --->>น.,นปุ. พันแห่งผ้าสาฎก ดู อตฺต-ภาวสหสฺส

ศัพท์บาลี --->>สาณิ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ม่าน แจกเหมือน รตฺติ เช่น ต.เอก. สาณิยา ด้วยม่าน

ศัพท์บาลี --->>สาณิกณฺณ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. มุมแห่งม่าน แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. สาณิกณฺณํ ซึ่งมุมแห่งม่าน เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สาณิยา กณฺโณ = สาณิกณฺโณ

ศัพท์บาลี --->>สาตจฺจกิริยาวเสน-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ด้วยสามารถแห่งการ กระทำโดยความติดต่อ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีตติยาตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ต.ตัป.วิ. สาตจฺเจน กิริยา = สาตจฺจกิริยา ฉ.ตัป.วิ. สาตจฺจกิริยาย วโส = สาตจฺจกิริยาวโส แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>สาตติก-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีความเพียรเป็นไปติดต่อ มาจาก สตต ศัพท์ + ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต ใช้ แทน ปวตฺตติ ด้วยอำนาจ ณิก ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นศัพท์เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อิก ได้รูปเป็น สาตติก เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มี ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ณิก.ตรตฺยา.วิ. สตตํ ปวตฺตตีติ สาตติกํ (วิริยํ) ฉ.ตุล.วิ. สาตติกํ วิริยํ เยสํ เต สาตติกา (ปณฺฑิตา) ความเพียร ของบัณฑิต ท. เหล่าใด เป็นไปติดต่อ บัณฑิต ท. เหล่านั้น ชื่อว่า สาตติกาๆ ผู้มีความเพียรเป็นไป ติดต่อ [บทสมาสลบศัพท์หลัง คือ วิริยา เหลือ เพียงศัพท์หน้า คือ สาตติกา : ในธรรมบทภาค ๒ เรื่องพระนางสามาวดี หน้า ๖๕ ในแก้อรรถ แก้เป็น สาตติกาติ… สตตํ ปวตฺตกายิกเจตสิก- วิริยา = บทว่า สาตติกา ความว่า ผู้มีความเพียรทางกายและทางจิตที่เป็นไปติดต่อ]

ศัพท์บาลี --->>สาตฺถิกา-->> คำแปล --->>ว.,อิต. (เทสนา) อ. เทศนา เป็นไปกับ ด้วยประโยชน์ เป็นสหบุพพบทพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า สห อตฺเถน ยา วตฺตตีติ สาตฺถิกา (เทสนา) [บทสมาส ลง อิ อาคม ก สกัด และ อา เครื่องหมายอิต.] แจกเหมือน กญฺญา

ศัพท์บาลี --->>สาทยนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น สามากนิวารา อ. ข้าวฟ่างและ ลูกเดือย ท.) ยัง… ย่อมให้ยินดี สท ธาตุ ในความยินดี + ณย ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ ด้วยอำนาจ ณย ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ ย สำเร็จรูปเป็น สาทยนฺติ

ศัพท์บาลี --->>สาทิยนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ขีณาสวา อ. พระขีณาสพ ท.) ย่อมยินดี สท ธาตุ ในความยินดี + ณย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ ด้วยอำนาจ ณย ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา แปลง อ ที่สุดธาตุเป็น อิ ลบ ณ เหลือไว้แต่ ย สำเร็จรูปเป็น สาทิยนฺติ

ศัพท์บาลี --->>สาทุ-->> คำแปล --->>ว. อร่อย,ไพเราะ ปุ. แจกเหมือน ครุ เช่น ทุ.เอก. สาทุ (รสํ) ซึ่งรส อันอร่อย อิต. แจก เหมือน รชฺชุ เช่น ทุ.เอก. สาทุ (ยาคุ) ซึ่งข้าวต้ม อันอร่อย นปุ. แจกเหมือน วตฺถุ เช่น ป.พหุ. สาทูนิ (วจนานิ) อ. คำ ท. อันไพเราะ

ศัพท์บาลี --->>สาธารณ-->> คำแปล --->>ว. ทั่วไป นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ต.เอก. สาธารเณน (ธเนน) ด้วยทรัพย์ อันทั่วไป

ศัพท์บาลี --->>สาธุ-->> คำแปล --->>๑ น. อ. ดีละ เช่น สาธุ ภนฺเต = ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ดีละ

ศัพท์บาลี --->>สาธุ-->> คำแปล --->>๒ ว. ดี ปุ. แจกเหมือน ครุ เช่น ต.เอก. สาธุนา นเรน = อันคนดี นปุ. แจกเหมือน วตฺถุ เช่น ป.เอก. สาธุ กมฺมํ = อ. กรรมดี

ศัพท์บาลี --->>สาธุ-->> คำแปล --->>๓ นิ. ดังหม่อมฉันขอประทานพระวโรกาส, ดังข้าพระองค์ขอโอกาส เช่น สาธุ ภนฺเต = ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ดังหม่อมฉันขอประทานพระวโรกาส [ธ. ๑ : นนฺทตฺเถรวตฺถุ หน้า ๑๐๘]

ศัพท์บาลี --->>สาธุ-->> คำแปล --->>๔ ว. ยังประโยชน์ให้สำเร็จ นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. สาธุ (วจนํ) อ. คำ อันยัง ประโยชน์ให้สำเร็จ

ศัพท์บาลี --->>สาธุก-->> คำแปล --->>ว. ดี นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. สาธุกํ (กมฺมํ) อ.กรรม ดี

ศัพท์บาลี --->>สาธุการ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สาธุการ, อันกระทำซึ่งเสียงว่าสาธุ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. สาธุการํ ซึ่งสาธุการ, ซึ่งอันกระทำซึ่งเสียงว่าสาธุ

ศัพท์บาลี --->>สาธุการสหสฺส-->> คำแปล --->>น.,นปุ. พันแห่งสาธุการ ดู อตฺตภาวสหสฺส

ศัพท์บาลี --->>สาธุรส-->> คำแปล --->>ว. อันมีรสดี นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.พหุ. สาธุรสานิ (สูปพฺยญฺชนานิ) ซึ่งแกงและ กับ ท. อันมีรสดี เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า สาธุ รโส เยสํ ตานิ สาธุรสานิ (สูปพฺยญฺชนานิ)

ศัพท์บาลี --->>สาธุวิหารี-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้อยู่ด้วยธรรมเครื่องยังประโยชน์ให้สำเร็จโดยปกติ แจกเหมือน เสฏฺ เช่น ทุ.เอก. สาธุวิหารึ (สหายํ) มาจาก สาธุ + วิ บทหน้า + หร ธาตุ ในความอยู่ + ณี ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณี ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อี ได้รูปเป็น สาธุวิหารี แปลว่า ผู้อยู่ด้วยธรรมเครื่องยังประโยชน์ให้สำเร็จโดยปกติ เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ ลงในอรรถแห่งตัสสีละ วิ.ว่า สาธุนา วิหรติ สีเลนาติ สาธุวิหารี (สหาโย) สหายใด ย่อมอยู่ ด้วยธรรมเครื่องยังประโยชน์ให้สำเร็จ โดยปกติ เหตุนั้น สหายนั้น ชื่อว่า สาธุวิหารีๆ ผู้อยู่ด้วยธรรมเครื่องยังประโยชน์ให้สำเร็จโดยปกติ

ศัพท์บาลี --->>สาป-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความสาป แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สาโป อ. ความสาป

ศัพท์บาลี --->>สาปเตยฺย-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ทรัพย์สมบัติ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. สาปเตยฺยํ ซึ่งทรัพย์สมบัติ

ศัพท์บาลี --->>สามคฺคี-->> คำแปล --->>น.,อิต. ความสามัคคี แจกเหมือน นารี เช่น ทุ.เอก. สามคฺคึ ซึ่งความสามัคคี

ศัพท์บาลี --->>สามคฺคีรสานิสํส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อานิสงส์แห่งรสแห่งความสามัคคี แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. สามคฺคีรสานิสํสํ ซึ่งอานิสงส์แห่งรสแห่งความสามัคคี เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. สามคฺคิยา รโส = สามคฺคีรโส ฉ.ตัป.วิ. สามคฺคีรสสฺส อานิสํโส = สามคฺคีรสานิสํโส

ศัพท์บาลี --->>สามญฺญ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. คุณเครื่องความเป็นแห่งสมณะ แจกเหมือน กุล เช่น ฉ.เอก. สามญฺญสฺส แห่งความเป็นแห่งสมณะ ลง ณฺย ปัจจัย ในภาวตัทธิต วิ.ว่า สมณสฺส ภาโว = สามญฺญ คำว่า สามญฺญ มาจาก สมณ + ณฺย ด้วยอำนาจ ณฺย ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณฺ เหลือไว้แต่ ย เป็น สามณ + ย แปลง ณ กับ ย เป็น ญฺญ ได้รูปเป็น สามญฺญ

ศัพท์บาลี --->>สามนฺตราช-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระราชาโดยรอบ แจกเหมือน มหาราช เช่น ป.เอก. สามนฺตราชา อ. พระราชาโดยรอบ

ศัพท์บาลี --->>สามากนิวารา-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อ. ข้าวฟ่างและลูกเดือย ท. เป็นอสมาหารทวันทวสมาส วิ.ว่า สามาโก จ นิวารา จ = สามากนิวารา แจกเหมือน ปุริส เฉพาะฝ่ายพหุ.

ศัพท์บาลี --->>สามายิก-->> คำแปล --->>ว. อันบังเกิดแล้วในสมัย มาจาก สมย ศัพท์ + ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต ใช้แทน นิพฺพตฺต ด้วยอำนาจ ณิก ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นศัพท์เป็น อา และทีฆะ อ ที่ ม เป็น อา ลบ ณ เหลือ ไว้แต่ อิก ได้รูปเป็น สามายิก [น่าจะเป็น สามยิก เพราะโดยปกติ จะทีฆะเฉพาะ อ ต้นศัพท์เท่านั้น] อิต. ลง อา เครื่องหมายอิต. แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.เอก. สามายิกํ (เจโตวิมุตฺตึ) ซึ่ง เจโตวิมุตติ อันบังเกิดแล้วในสมัย วิ.ว่า สมเย นิพฺพตฺตา = สามายิกา (เจโตวิมุตฺติ)

ศัพท์บาลี --->>สามาวตี-->> คำแปล --->>น.,อิต. นางสามาวดี, พระนางสามาวดี แจกเหมือน นารี เช่น ป.เอก. สามาวตี อ. นางสามาวดี

ศัพท์บาลี --->>สามาวตีปมุขา-->> คำแปล --->>ว.,อิต. (อิตฺถิโย) อ. หญิง ท. ผู้มีพระนางสามาวดีเป็นประมุข เป็นฉัฏฐีตุลยา ธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า สามาวตี ปมุขํ ยาสํ ตา สามาวตีปมุขา (อิตฺถิโย) แจกเหมือน กญฺญา

ศัพท์บาลี --->>สามาวตีปมุขานิ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (อิตฺถีสตานิ) อ. ร้อยแห่งหญิง ท. มีพระนางสามาวดีเป็นประมุข เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า สามาวตี ปมุขํ เยสํ ตานิ สามาวตีปมุขานิ (อิตฺถีสตานิ) แจกเหมือน กุล

ศัพท์บาลี --->>สามาวตีมิสฺสกา-->> คำแปล --->>ว.,อิต. (อิตฺถิโย) อ. หญิง ท. ผู้เจือด้วยพระนางสามาวดี เป็นตติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สามาวติยา มิสฺสกา = สามาวตี- มิสฺสกา (อิตฺถิโย) แจกเหมือน กญฺญา

ศัพท์บาลี --->>สามาวตีวตฺถุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งพระนาง สามาวดี เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สามาวติยา วตฺถุ = สามาวตีวตฺถุ แจกเหมือน วตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>สามิก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สามี,เจ้าของ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สามิโก อ. สามี, อ. เจ้าของ

ศัพท์บาลี --->>สามิกภาเว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ครั้นเมื่อความที่แห่ง…เป็นสามี เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สามิกสฺส ภาโว = สามิกภาโว แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>สามิสมฺมาปฏิปตฺติวเสน-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ด้วยอำนาจแห่งการปฏิบัติโดยชอบต่อสามี เป็นฉัฏฐี ตัปปุริสสมาส มีจตุตถีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ จตุ.ตัป.วิ.สามิโน สมฺมาปฏิปตฺติ =สามิสมฺมาปฏิปตฺติ ฉ.ตัป.วิ. สามิสมฺมาปฏิปตฺติยา วโส = สามิสมฺมา- ปฏิปตฺติวโส แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>สามี-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สามี, นาย, เจ้าของ แจกเหมือน มุนิ เช่น อา.เอก. สามิ ข้าแต่นาย

ศัพท์บาลี --->>สามีจิมตฺต-->> คำแปล --->>ว. สักว่าสามีจิกรรม นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. (กิจฺจํ) ซึ่งกิจ สักว่าสามีจิกรรม เป็นสัมภาวนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า สามีจิ อิติ มตฺตํ = สามีจิมตฺตํ (กิจฺจํ)

ศัพท์บาลี --->>สามเณร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สามเณร แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สามเณโร อ. สามเณร คำว่า สามเณร มาจาก สมณ ศัพท์ ลง เณร ปัจจัย ในโคตตตัทธิต ใช้แทน อปจฺจ ศัพท์ = เหล่ากอ [สมณ + เณร] ด้วยอำนาจ เณร ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นศัพท์เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอร [สามณ + เอร] ได้รูปเป็น สามเณร วิ.ว่า สมณสฺส อปจฺจํ = สามเณโร เหล่ากอ แห่งสมณะ ชื่อว่า สามเณระ (สามเณร)

ศัพท์บาลี --->>สามเณราทโย-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (ปพฺพชิตา) อ. บรรพชิต ท. มีสามเณรเป็นต้น เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณ พหุพพิหิสมาส วิ.ว่า สามเณโร อาทิ เยสํ เต สามเณราทโย (ปพฺพชิตา) แจกเหมือน มุนิ

ศัพท์บาลี --->>สายณฺหสมเย-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ในสมัยเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สายณฺหสฺส (ขโย) สมโย = สายณฺหสมโย แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>สายมาส-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (อาหาร) อันบุคคลพึงกินในเวลาเย็น แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. สายมาสํ (อาหารํ) ซึ่งอาหารอันบุคคลพึงกินในเวลาเย็น คำว่า สายมาส มาจาก สายํ บทหน้า + อส ธาตุ ใน ความกิน, ความบริโภค + ณ ปัจจัย สระอยู่หลัง แปลงนิคคหิตเป็น ม ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ ได้รูปเป็น สายมาส แปลว่า อันบุคคลพึงกิน (บริโภค) ในเวลาเย็น เป็นกัมมรูป กัมมสาธนะ วิ.ว่า สายํ อสิตพฺโพติ สายมาโส (อาหาโร)

ศัพท์บาลี --->>สายํ-->> คำแปล --->>นิ. ในเวลาเย็น เป็นนิบาตบอกกาล เช่น สายํ สุสานํ เนตฺวา = นำไปแล้ว สู่ป่าช้า ในเวลาเย็น [ธ. ๑: จุลฺลกาลมหากาลวตฺถุ หน้า ๖๔]

ศัพท์บาลี --->>สาร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สาระ, แก่น แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สาโร อ. สาระ, อ.แก่น

ศัพท์บาลี --->>สาร-->> คำแปล --->>ว. อันมีสาระ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สาโร (ธมฺโม) อ. ธรรม อันมีสาระ คำว่า สาร ลง ณ ปัจจัยในตทัสสัตถิตัทธิต วิ.ว่า สาโร อสฺส อตฺถีติ สาโร (ธมฺโม) สาระ ของธรรมนั้น มีอยู่ เหตุนั้น ธรรมนั้น ชื่อว่า สาโรๆ มีสาระ

ศัพท์บาลี --->>สารคนฺธ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กลิ่นอันเกิดแต่แก่น แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สารคนฺโธ อ. กลิ่นอันเกิดแต่แก่น เป็นปัญจมีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สารมฺหา (ชาโต) คนฺโธ = สารคนฺโธ

ศัพท์บาลี --->>สารถิ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นายสารถี แจกเหมือน มุนิ เช่น ต.เอก. สารถินา อันนายสารถี

ศัพท์บาลี --->>สารมติ-->> คำแปล --->>ว. ผู้รู้ว่าเป็นธรรมอันมีสาระ ปุ. แจกเหมือน มุนิ เช่น ป.พหุ. สารมติโน (ชนา) อ. ชน ท. ผู้รู้ว่าเป็นธรรมอันมีสาระ ลง ติ ปัจจัย เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ วิ.ว่า สารํ มญฺญนฺตีติ สารมติโน (ชนา) คำว่า มติ ในคำว่า สารมติโน มาจาก มน ธาตุ ในความรู้ + ติ ปัจจัย ลบ น ที่สุด ธาตุ ได้รูปเป็น มติ แปลว่า ผู้รู้

ศัพท์บาลี --->>สาราณีย-->> คำแปล --->>ว. อันเป็นที่ตั้งแห่งการยังกันและกันให้ระลึก อิต. แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.เอก. สาราณียํ (กถํ) ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าว อันเป็นที่ตั้งแห่งการยังกันและกันให้ระลึก คำว่า สาราณีย ลง อีย ปัจจัย ในฐานตัทธิต วิ.ว่า สาราณสฺส านา = สาราณียา (กถา) คำว่า สาราณ มาจาก สร ธาตุ ในความระลึก + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ยุ ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ แปลง ยุ เป็น อณ เป็น สาเร + อณ ลบสระหน้าคือ เอ ที่ เร ทีฆะสระหลังคือ อ ที่ อณ เป็น อา ได้รูปเป็น สาราณ แปลว่า การให้ระลึก เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า สาราณํ = สาราณํ

ศัพท์บาลี --->>สาราณียกถา-->> คำแปล --->>น.,อิต. วาจาเป็นเครื่องกล่าวอันเป็นที่ตั้งแห่งการยังกันและกันให้ระลึก เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี อีย ปัจจัยในฐานตัทธิต เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อีย.ฐาน.วิ. สาราณสฺส านา = สาราณียา (กถา) วิ.บุพ.กัม.วิ. สาราณียา กถา = สาราณียกถา

ศัพท์บาลี --->>สารีปุตฺต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระสารีบุตร แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สารีปุตฺโต อ. พระสารีบุตร

ศัพท์บาลี --->>สารีปุตฺตตฺเถร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตร แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สารีปุตฺตตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตร เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า สารีปุตฺโต เถโร = สารีปุตฺตตฺเถโร [บทสมาส ซ้อน ตฺ หน้า ถ]

ศัพท์บาลี --->>สารีปุตฺตตฺเถรปฺปมุข-->> คำแปล --->>ว. มีพระเถระชื่อว่า สารีบุตรเป็นประมุข ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น จ.พหุ. สารีปุตฺตตฺเถรปฺปมุขานํ (เถรานํ) แก่พระเถระ ท. ผู้มีพระเถระชื่อว่าสารีบุตรเป็นประมุข เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. สารีปุตฺโต เถโร = สารีปุตฺตตฺเถโร ฉ.ตุล.วิ. สารีปุตฺตตฺเถโร ปมุขํ เยสํ เต สารีปุตฺตตฺเถรปฺปมุขา (เถรา) [ซ้อน ปฺ]

ศัพท์บาลี --->>สารีปุตฺตตฺเถรวตฺถุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งพระเถระชื่อว่าสารีบุตร เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. สารีปุตฺโต เถโร = สารีปุตฺตตฺเถโร ฉ.ตัป.วิ. สารีปุตฺตตฺเถรสฺส วตฺถุ = สารีปุตฺตตฺเถรวตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>สารีปุตฺตสทิส-->> คำแปล --->>ว. ผู้เช่นกับด้วยสารีบุตร ปุ. แจก เหมือน ปุริส เช่น จ.พหุ. สารีปุตฺตสทิสานํ (ภิกฺขูนํ) แก่ภิกษุ ท. ผู้เช่นกับด้วยสารีบุตร เป็นตติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สารีปุตฺเตน สทิสา = สารีปุตฺตสทิสา (ภิกฺขู)

ศัพท์บาลี --->>สารีปุตฺตา-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ดูก่อนสารีบุตรและ โมคคัลลานะ ท. เป็นปุพเพกเสสสมาส วิ.ว่า สารีปุตฺโต จ โมคฺคลฺลาโน จ = สารีปุตฺตา

ศัพท์บาลี --->>สารีปุตฺตโมคฺคลฺลานา-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อ. พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ ท. เป็นอสมาหารทวันทว สมาส วิ.ว่า สารีปุตฺโต จ โมคฺคลฺลาโน จ = สารีปุตฺตโมคฺคลฺลานา แจกเหมือน ปุริส เฉพาะฝ่ายพหุ.

ศัพท์บาลี --->>สาลย-->> คำแปล --->>ว. ผู้เป็นไปกับด้วยความอาลัย ปุ. แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. สาลยา (ภิกฺขู) อ. ภิกษุ ท. ผู้เป็นไปกับด้วยความอาลัย เป็น สหบุพพบทพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า สห อาลเยน เย วตฺตนฺตีติ สาลยา (ภิกฺขู)

ศัพท์บาลี --->>สาลา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ศาลา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. สาลา อ. ศาลา

ศัพท์บาลี --->>สาลิ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ข้าวสาลี แจกเหมือน มุนิ เช่น ป.เอก. สาลิ อ. ข้าวสาลี

ศัพท์บาลี --->>สาลิกฺเขตฺต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. นาแห่งข้าวสาลี แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. สาลิกฺเขตฺตํ ซึ่งนาแห่งข้าวสาลี เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สาลีนํ เขตฺตํ = สาลิกฺเขตฺตํ [บทสมาส ซ้อน กฺ หน้า ข]

ศัพท์บาลี --->>สาลิคพฺภ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ท้องแห่งข้าวสาลี แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. สาลิคพฺภํ ซึ่งท้องแห่งข้าวสาลี เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สาลีนํ คพฺโภ = สาลิคพฺโภ

ศัพท์บาลี --->>สาลิคพฺภทาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ทานด้วยท้องแห่งข้าวสาลี แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. สาลิคพฺภทานํ ซึ่งทานด้วยท้องแห่งข้าวสาลี เป็นตติยาตัปปุริส สมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. สาลีนํ คพฺโภ = สาลิคพฺโภ ต.ตัป.วิ. สาลิคพฺเภน ทานํ = สาลิคพฺภทานํ

ศัพท์บาลี --->>สาลิตณฺฑุลปูร-->> คำแปล --->>ว. อันเต็มด้วยข้าวสารแห่งข้าว สาลี นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.พหุ. สาลิ- ตณฺฑุลปูรานิ (สกฏสตานิ) ซึ่งร้อยแห่งเกวียน ท. อันเต็มด้วยข้าวสารแห่งข้าวสาลี เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. สาลีนํ ตณฺฑุลา = สาลิตณฺฑุลา ฉ.ตัป.วิ. สาลิตณฺฑุลานํ ปูรานิ = สาลิตณฺฑุลปูรานิ (สกฏสตานิ) [ศัพท์ที่ แปลว่า ด้วย อยู่หน้า ปูร ธาตุ ให้ประกอบเป็นฉัฏฐีวิภัตติ เรียกชื่อสมาสตามวิภัตติที่ปรากฏในรูปวิเคราะห์]

ศัพท์บาลี --->>สาลิตฺตกสิปฺป-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ศิลปะแห่งการดีดซึ่ง ก้อนกรวด แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. สาลิตฺตกสิปฺเป ในศิลปะแห่งการดีดซึ่งก้อน กรวด เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. สาลิตฺตกานํ ขิปนํ = สาลิตฺตกขิปนํ ฉ.ตัป.วิ. สาลิตฺตกขิปนสฺส สิปฺปํ = สาลิตฺตกสิปฺปํ [บทสมาส ลบ ขิปน ในท่ามกลาง]

ศัพท์บาลี --->>สาลิสีส-->> คำแปล --->>น.,นปุ. รวงแห่งข้าวสาลี แจกเหมือน กุล เช่น ต.พหุ. สาลิสีเสหิ ด้วยรวงแห่ง ข้าวสาลี ท. เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สาลีนํ สีสานิ = สาลิสีสานิ

ศัพท์บาลี --->>สาวก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สาวก แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สาวโก อ. สาวก

ศัพท์บาลี --->>สาวกปารมีญาณ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. สาวกบารมีญาณ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก.สาวกปารมีญาณํ ซึ่งสาวกบารมีญาณ

ศัพท์บาลี --->>สาวกภาว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความที่แห่ง…เป็นสาวก แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. สาวกภาวํ ซึ่งความ ที่แห่ง…เป็นสาวก เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สาวกสฺส ภาโว = สาวกภาโว

ศัพท์บาลี --->>สาวกยุค-->> คำแปล --->>น.,นปุ. คู่แห่งสาวก แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. สาวกยุคํ อ. คู่แห่งสาวก เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สาวกานํ ยุคํ = สาวกยุคํ

ศัพท์บาลี --->>สาวกสงฺฆ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. หมู่แห่งสาวก แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สาวกสงฺโฆ อ. หมู่แห่งสาวก เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สาวกานํ สงฺโฆ = สาวกสงฺโฆ

ศัพท์บาลี --->>สาวกสนฺนิปาต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. การประชุมแห่งสาวก แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. สาวกสนฺนิปาตํ ซึ่งการประชุมแห่งสาวก เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า สาวกานํ สนฺนิปาโต = สาวกสนฺนิปาโต

ศัพท์บาลี --->>สาวชฺช-->> คำแปล --->>ว. อันเป็นไปกับด้วยโทษ มาจาก สห + อวชฺช ลบ ห เหลือไว้แต่ ส ลบ อ ที่ ส ทีฆะ อ ที่ อวชฺช เป็น อา ได้รูปเป็น สาวชฺช นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. สาวชฺชํ (านํ) อ. ที่ อันเป็นไป กับด้วยโทษ เป็นสหบุพพบทพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า สห อวชฺเชน ยํ วตฺตตีติ สาวชฺชํ (านํ)

ศัพท์บาลี --->>สาวตฺถี-->> คำแปล --->>๑ ว.,อิต. สาวัตถี (ชื่อของพระนคร) แจกเหมือน นารี เช่น ป.เอก.สาวตฺถี (นครํ) อ.พระนคร ชื่อว่าสาวัตถี

ศัพท์บาลี --->>สาวตฺถี-->> คำแปล --->>๒ น.,อิต. เมืองสาวัตถี แจกเหมือน นารี เช่น ป.เอก. สาวตฺถี อ. เมืองสาวัตถี

ศัพท์บาลี --->>สาวตฺถีนคร-->> คำแปล --->>น.,นปุ. พระนครชื่อว่าสาวัตถี แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. สาวตฺถีนคเร ในพระนครชื่อว่าสาวัตถี เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า สาวตฺถี นครํ = สาวตฺถีนครํ

ศัพท์บาลี --->>สาวตฺถีนครทฺวาร-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ประตูแห่งพระนครชื่อว่าสาวัตถี แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. สาวตฺถีนครทฺวารํ ซึ่งประตูแห่งพระนครชื่อว่าสาวัตถี เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. สาวตฺถี นครํ = สาวตฺถีนครํ ฉ.ตัป.วิ. สาวตฺถีนครสฺส ทฺวารํ = สาวตฺถี- นครทฺวารํ

ศัพท์บาลี --->>สาวตฺถีวาสิก-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีอันอยู่ในพระนครชื่อว่า สาวัตถีเป็นปกติ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สาวตฺถีวาสิโก (อุปาสโก) คำว่า สาวตฺถี วาสิก มาจาก สาวตฺถี บทหน้า + วส ธาตุ ในความอยู่ + ณี ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณี ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อี เป็น สาวตฺถีวาสี รัสสะ อี เป็น อิ ลง ก สกัด ได้รูปเป็น สาวตฺถีวาสิก แปลว่า ผู้มีอันอยู่ในพระนครชื่อ ว่าสาวัตถีเป็นปกติ เป็นสมาสรูป ตัสสีลสาธนะ วิ.ว่า สาวตฺถิยํ วสิตุ สีลมสฺสาติ สาวตฺถี- วาสิโก (อุปาสโก) การ (อัน) อยู่ ในพระนครชื่อ ว่าสาวัตถี เป็นปกติ ของอุบาสกนั้น เหตุนั้น อุบาสกนั้น ชื่อว่า สาวตฺถีวาสิโกๆ ผู้มีอันอยู่ในพระนครชื่อว่าสาวัตถีเป็นปกติ

ศัพท์บาลี --->>สาวตฺถีวาสี-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้อยู่ในเมืองสาวัตถีโดยปกติ แจกเหมือน เสฏฺ เช่น ป.เอก. สาวตฺถีวาสี (เสฏฺ) อ. เศรษฐี ผู้อยู่ในเมืองสาวัตถีโดยปกติ คำว่า สาวตฺถีวาสี มาจาก สาวตฺถี บทหน้า + วส ธาตุ ในความอยู่ + ณี ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณี ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อี ได้รูปเป็น สาวตฺถีวาสี แปลว่า ผู้อยู้ในเมืองสาวัตถีโดยปกติ วิ.ว่า สาวตฺถิยํ วสติ สีเลนาติ สาวตฺถีวาสี (เสฏฺ) เศรษฐีใด ย่อมอยู่ ในกรุง สาวัตถี โดยปกติ เหตุนั้น เศรษฐีนั้น ชื่อว่า สาวตฺถีวาสีๆ ผู้อยู่ในกรุงสาวัตถีโดยปกติ

ศัพท์บาลี --->>สาวย-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) ยัง...จงให้ฟัง สุ ธาตุ ในความฟัง + ณย ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ พฤทธิ อุ ที่ สุ ธาตุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว เป็น สว ด้วยอำนาจ ณย ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ ย ลบ หิ ได้รูปเป็น สาวย

ศัพท์บาลี --->>สาวิต-->> คำแปล --->>ก. อัน…ให้ฟังแล้ว สุ ธาตุ ในความฟัง + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ต ปัจจัยเป็นเหตุกัมมวาจก พฤทธิ อุ ที่ สุ ธาตุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว เป็น สว ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง อิ อาคม เป็น สาเว + อิ + ต ลบสระหน้าคือ เอ ที่ เว ได้รูปเป็น สาวิต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>สาสน-->> คำแปล --->>๑ น.,นปุ. พระศาสนา แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. สาสเน ในพระศาสนา

ศัพท์บาลี --->>สาสน-->> คำแปล --->>๒ น.,นปุ. ข่าวสาส์น แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. สาสนํ อ. ข่าวสาส์น

ศัพท์บาลี --->>สาสนาหรณตฺถาย-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เพื่อประโยชน์แก่อันนำมาซึ่งข่าวสาส์น มาจาก สาสนาหรณตฺถ + ส จตุตถีวิภัตติ แปลง อ กับ ส เป็น อาย สำเร็จรูปเป็น สาสนาหรณตฺถาย เป็นจตุตถีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. สาสนสฺส อาหรณํ = สาสนาหรณํ จตุ.ตัป.วิ. สาสนาหรณสฺส อตฺโถ = สาสนาหรณตฺโถ แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>สาสป-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เมล็ดพันธุ์ผักกาด แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. สาสโป อ. เมล็ดพันธุ์ผักกาด

ศัพท์บาลี --->>สาสปมตฺติโย-->> คำแปล --->>ว.,อิต. (ปิฬกา) อ. ต่อม ท. อันมี เมล็ดพันธุ์ผักกาดเป็นประมาณ เป็นฉัฏฐี ตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า สาสโป มตฺโต ยาสํ ตา สาสปมตฺติโย (ปิฬกา) [บทสมาส ลง อี เครื่องหมายอิตถีลิงค์] แจกเหมือน นารี

ศัพท์บาลี --->>สาหสิก-->> คำแปล --->>ว. อันเป็นไปด้วยความผลุนผลัน นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. สาหสิกํ (กมฺมํ) อ. กรรม อันเป็นไปด้วยความผลุนผลัน คำว่า สาหสิก มาจาก สหส ศัพท์ = ความผลุนผลัน + ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต ใช้แทน วตฺตติ ด้วยอำนาจ ณิก ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นศัพท์เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อิก ได้รูปเป็น สาหสิก แปลว่า อันเป็นไปด้วยความผลุนผลัน วิ.ว่า สหเสน วตฺตตีติ สาหสิกํ (กมฺมํ)

ศัพท์บาลี --->>สาเกต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. สาเกต แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. สาเกตํ อ. เมืองสาเกต

ศัพท์บาลี --->>สาเกตนคร-->> คำแปล --->>น.,นปุ. พระนครชื่อว่าสาเกต แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. สาเกตนครํ อ. พระนครชื่อว่าสาเกต เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า สาเกตํ นครํ = สาเกตนครํ

ศัพท์บาลี --->>สาเถยฺย-->> คำแปล --->>ว. ผู้โอ้อวด ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. สาเถยฺเยน (ปุคฺคเลน) อันบุคคล ผู้โอ้อวด

ศัพท์บาลี --->>สาเวตุ-->> คำแปล --->>น. อ.อันให้ฟัง, เพื่ออันให้ฟัง สุ ธาตุ ในความฟัง + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย พฤทธิ อุ ที่ สุ ธาตุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว เป็น สว ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ได้รูปเป็น สาเวตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>สาเวตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง...ให้ทรงสดับแล้ว สุ ธาตุ ในความฟัง + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย พฤทธิ อุ ที่ สุ ธาตุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว เป็น สว ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น สาเวตฺวา

ศัพท์บาลี --->>สาโลหิต-->> คำแปล --->>ว. ผู้เป็นสาโลหิต ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. สาโลหิตา ชนา = อ. ชน ท. ผู้เป็นสาโลหิต


คำศัทพ์