ศัพท์บาลี --->>วา-->> คำแปล --->>นิ. หรือ, หรือว่า เป็นนิบาตสำหรับผูกศัพท์และ ประโยคมีอัตถะเป็นอเนก เช่น ภาสติ วา กโรติ วา = กล่าวอยู่หรือ หรือว่า กระทำอยู่ [ธ. ๑: จกฺขุปาล- หน้า ๓]

ศัพท์บาลี --->>วาก-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ปอ แจกเหมือน กุล เช่น ต.พหุ. วาเกหิ ด้วยปอ ท.

ศัพท์บาลี --->>วาจน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. การบอก แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. วาจนํ อ. การบอก

ศัพท์บาลี --->>วาจา-->> คำแปล --->>น.,อิต. วาจา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป. พหุ. วาจา อ. วาจา ท.

ศัพท์บาลี --->>วาณิช-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พ่อค้า แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. วาณิโช อ. พ่อค้า

ศัพท์บาลี --->>วาณิชก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พ่อค้า แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. วาณิชกา อ. พ่อค้า ท.

ศัพท์บาลี --->>วาณิชกมฺม-->> คำแปล --->>น.,นปุ. การงานของพ่อค้า แจกเหมือน กุล เช่น ต.เอก. วาณิชกมฺเมน ด้วยการงานของพ่อค้า เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า วาณิชสฺส กมฺมํ = วาณิชกมฺมํ

ศัพท์บาลี --->>วาต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ลม แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. วาโต อ. ลม

ศัพท์บาลี --->>วาตปาน-->> คำแปล --->>๑ น.,นปุ. พระแกล, หน้าต่าง แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. วาตปานํ ซึ่งพระแกล

ศัพท์บาลี --->>วาตปาน-->> คำแปล --->>๒ ว.,นปุ. (ช่อง) เป็นที่ดื่มกินซึ่งลม มาจาก วาต บทหน้า + ปา ธาตุ ในความดื่มกิน + ยุ ปัจจัย แปลง ยุ เป็น อน ได้รูปเป็น วาตปาน แปล ว่า เป็นที่ดื่มกินซึ่งลม เป็นกัตตุรูป อธิกรณสาธนะ วิ.ว่า วาตํ ปิวติ เอตฺถาติ วาตปานํ (ฉิทฺทํ) เขา ย่อมดื่มกิน ซึ่งลม ที่ช่องนั่น เหตุนั้น ช่องนั่น ชื่อว่า วาตปานํๆ เป็นที่ดื่มกินซึ่งลม

ศัพท์บาลี --->>วาตปานทฺวาร-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ประตูแห่งช่องเป็นที่ดื่มกินซึ่งลม แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. วาตปาน ทฺวาเร ใกล้ประตูแห่งช่องเป็นที่ดื่มกินซึ่งลม เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. วาตสฺส ปานํ = วาตปานํ (ฉิทฺทํ) ฉ.ตัป.วิ. วาตปานสฺส (วาตสฺส) ทฺวารํ = วาตปานทฺวารํ

ศัพท์บาลี --->>วาตปานอุมฺมาร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ธรณีแห่งช่องเป็นที่ดื่มกินซึ่งลม แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. วาตปานอุมฺมาเร ที่ธรณีแห่งช่องเป็นที่ดื่มกินซึ่งลม เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. วาตสฺส ปานํ = วาตปานํ (ฉิทฺทํ) ฉ.ตัป.วิ. วาตปานสฺส (วาตสฺส) อุมฺมาโร = วาตปานอุมฺมาโร

ศัพท์บาลี --->>วาตภกฺโข-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (อาชีวโก) อ. อาชีวก ผู้มีลมเป็นภักษา เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า วาโต ภกฺโข ยสฺส โส วาตภกฺโข (อาชีวโก)

ศัพท์บาลี --->>วาตวุฏฺเวค-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กำลังแห่งลมและฝน แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. วาตวุฏฺเวคํ ซึ่งกำลังแห่งลมและฝน เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีอสมาหาร ทวันทวสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทวัน.วิ. วาโต จ วุฏฺ จ = วาตวุฏฺโย ฉ.ตัป.วิ. วาตวุฏฺนํ เวโค = วาตวุฏฺเวโค

ศัพท์บาลี --->>วาตาตปกิลนฺโต-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (ราชา) อ. พระราชา ผู้ทรงลำบากแล้วเพราะลมและแดด เป็นตติยา ตัปปุริสสมาส มีสมาหารทวันทวสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทวัน.วิ. วาโต จ อาตโป จ = วาตาตปํ ต.ตัป.วิ. วาตาตเปน กิลนฺโต = วาตาตปกิลนฺโต (ราชา)

ศัพท์บาลี --->>วาตาตปํ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ซึ่งลมและแดด เป็นสมาหาร ทวันทวสมาส วิ.ว่า วาโต จ อาตโป จ = วาตาตปํ แจกเหมือน กุล เฉพาะฝ่ายเอก.

ศัพท์บาลี --->>วาติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น คนฺโธ อ. กลิ่น) ย่อมฟุ้งไป วา ธาตุ ในความฟุ้งไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น วาติ

ศัพท์บาลี --->>วาทสหสฺส-->> คำแปล --->>น.,นปุ. พันแห่งวาทะ ดู อตฺตภาวสหสฺส

ศัพท์บาลี --->>วานร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. วานร แจกเหมือน ปุริส เช่น อา.เอก. วานร แน่ะวานร

ศัพท์บาลี --->>วาม-->> คำแปล --->>ว. ซ้าย ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. วาโม หตฺโถ = อ. มือ เบื้องซ้าย นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. วามํ ปสฺสํ = อ. ข้าง เบื้องซ้าย

ศัพท์บาลี --->>วามปสฺส-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ข้างเบื้องซ้าย แจกเหมือน กุล เช่น ต.เอก. วามปสฺเสน โดยข้างเบื้องซ้าย เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า วามํ ปสฺสํ = วามปสฺสํ

ศัพท์บาลี --->>วามหตฺถปสฺส-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ข้างแห่งพระหัตถ์เบื้องซ้าย แจกเหมือน กุล เช่น ต.เอก. วามหตฺถปสฺเสน โดยข้างแห่งพระหัตถ์เบื้องซ้าย เป็นฉัฏฐีตัปปุริส สมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. วาโม หตฺโถ = วามหตฺโถ ฉ.ตัป.วิ. วามหตฺถสฺส ปสฺสํ = วามหตฺถปสฺสํ

ศัพท์บาลี --->>วามอูรุ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ขาอ่อนข้างซ้าย แจกเหมือน ครุ เช่น ส.เอก. วามอูรุมฺหิ ที่ขาอ่อนข้างซ้าย เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า วาโม อูรุ = วามอูรุ

ศัพท์บาลี --->>วามโต-->> คำแปล --->>อัพ. ข้างซ้าย วาม ศัพท์ = ซ้าย ลง โต ปัจจัย แปลว่า ข้าง สำเร็จรูปเป็น วามโต

ศัพท์บาลี --->>วายมนฺต-->> คำแปล --->>ก. พยายามอยู่ วายม ธาตุ ในความ พยายาม + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ได้รูปเป็น วายมนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>วายมาน-->> คำแปล --->>ก. ทออยู่ เว ธาตุ ในความถัก, ความทอ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + มาน ปัจจัย แปลง เอ เป็น อาย ได้รูปเป็น วายมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>วายมิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เทวทตฺโต อ. พระเทวทัต) พยายาม แล้ว วายม ธาตุ ในความพยายาม + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น วายมิ

ศัพท์บาลี --->>วายมิตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันอัน…พยายาม, เพื่ออันพยายาม ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>วายมิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. พยายามแล้ว วายม ธาตุ ในความพยายาม + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น วายมิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>วายาม-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความพยายาม แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. วายามํ ซึ่งความพยายาม

ศัพท์บาลี --->>วาร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. วาระ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. วารํ ซึ่งวาระ

ศัพท์บาลี --->>วารณลีฬฺหา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ลีลาแห่งช้าง แจกเหมือน กญฺญา เช่น ต.เอก. วารณลีฬฺหาย ด้วยลีลาแห่งช้าง เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า วารณสฺส ลีฬฺหา = วารณลีฬฺหา

ศัพท์บาลี --->>วารยิตฺถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) ห้ามแล้ว วร ธาตุ ในความห้าม, ความปิด, ความกั้น + ณย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺถ อัชชัตตนีวิภัตติ ด้วยอำนาจ ณย ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ ย ลง อิ อาคมหลังปัจจัย สำเร็จรูปเป็น วารยิตฺถ

ศัพท์บาลี --->>วาราเปสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) ยัง...จักให้ทรงห้าม วร ธาตุ ในความห้าม + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ ด้วยอำนาจ ณาเป ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น วาราเปสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>วาริ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. นํ้า แจกเหมือน อกฺขิ เช่น ป.เอก. วาริ อ. นํ้า

ศัพท์บาลี --->>วาริช-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ปลา แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. วาริโช อ. ปลา [คำว่า วาริช มาจาก วาริ บทหน้า + ชน ธาตุ ในความเกิด + กฺวิ ปัจจัย ลบ น ที่สุดธาตุ และลบ กฺวิ ได้รูปเป็น วาริช แปลว่า ผู้เกิดในนํ้า เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ วิ.ว่า วาริมฺหิ ชายตีติ วาริโช (สตฺโต) สัตว์ใด ย่อมเกิด ในนํ้า เหตุนั้น สัตว์นั้น ชื่อว่า วาริโชๆ ผู้เกิดในนํ้า หมายถึงปลานั่นเอง]

ศัพท์บาลี --->>วาริต-->> คำแปล --->>ก. อัน…ห้ามแล้ว วร ธาตุ ในความห้าม + ต ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น วาริต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>วาริยมาน-->> คำแปล --->>ก. อัน…ห้ามอยู่ วร ธาตุ ในความห้าม + อิ อาคมหน้า ย ปัจจัยในกัมมวาจก + มาน ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ได้รูปเป็น วาริยมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>วาลมิค-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เนื้อร้าย แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.พหุ. วาลมิเค ยังเนื้อร้าย ท. เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า วาลา มิคา = วาลมิคา

ศัพท์บาลี --->>วาลมิคฏฺาเน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ในที่แห่งเนื้อร้าย เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารย สมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. วาโล มิโค = วาลมิโค ฉ.ตัป.วิ. วาลมิคสฺส านํ = วาลมิคฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ]

ศัพท์บาลี --->>วาลมิคปริปนฺถนิวารณตฺถํ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. เพื่ออันห้ามซึ่งอันตรายเป็นเครื่องเบียดเบียนรอบอันเกิด แต่เนื้อร้าย เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส และปัญจมีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. วาโล มิโค = วาลมิโค ปัญจ..ตัป.วิ. วาลมิคมฺหา (ชาโต) ปริปนฺโถ = วาลมิคปริปนฺโถ ฉ.ตัป.วิ. วาลมิคปริปนฺถสฺส นิวารณํ = วาลมิค- ปริปนฺถนิวารณํ แจกเหมือน กุล

ศัพท์บาลี --->>วาลิกา-->> คำแปล --->>วาลุกา น.,อิต. ทราย แจกเหมือน กญฺญา เช่น ส.เอก. วาลิกาย ในทราย

ศัพท์บาลี --->>วาลิกาปุลิน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. หาดแห่งทราย แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. วาลิกาปุลิเน บนหาดแห่งทราย เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า วาลิกาย ปุลินํ = วาลิกาปุลินํ

ศัพท์บาลี --->>วาลิการาสิ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กองแห่งทราย แจกเหมือน มุนิ เช่น ทุ.เอก. วาลิการาสึ ซึ่งกองแห่งทราย เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า วาลิกานํ ราสิ = วาลิการาสิ

ศัพท์บาลี --->>วาลุกาปิฏฺ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. หลังแห่งหาดทราย แจกเหมือน กุล เช่น วาลุกาปิฏฺเ บนหลังแห่งหาดทราย เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า วาลุกาย ปิฏฺ = วาลุกาปิฏฺ

ศัพท์บาลี --->>วาส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. การอยู่ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. วาสํ ซึ่งการอยู่ คำว่า วาส มาจาก วส ธาตุ ในความอยู่ + ณ ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ ได้รูปเป็น วาส แปลว่า การอยู่ เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า วสนํ = วาโส การอยู่ ชื่อว่า วาโสๆ การอยู่

ศัพท์บาลี --->>วาสคนฺธ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กลิ่นอบ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. วาสคนฺโธ อ. กลิ่นอบ

ศัพท์บาลี --->>วาสภขตฺติยา-->> คำแปล --->>น.,อิต. พระนางวาสภขัตติยา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. วาสภขตฺติยา อ. พระนางวาสภขัตติยา

ศัพท์บาลี --->>วาสว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ท้าววาสวะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. วาสโว อ. ท้าววาสวะ

ศัพท์บาลี --->>วาสาเปตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้อยู่แล้ว วส ธาตุ ในความอยู่ + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณาเป ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น วาสาเปตฺวา

ศัพท์บาลี --->>วาสิต-->> คำแปล --->>ก. อัน…ให้อยู่แล้ว วส ธาตุ ในความอยู่ + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ต ปัจจัยเป็น เหตุกัมมวาจก ลง อิ อาคม ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา เป็น วาเส + อิ + ต ลบ เอ ที่ เส ได้รูปเป็น วาสิต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>วาสี-->> คำแปล --->>น.,อิต. มีด แจกเหมือน นารี เช่น ต.เอก. วาสิยา ด้วยมีด

ศัพท์บาลี --->>วาสีผรสุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ซึ่งมีดและขวาน เป็นสมาหาร ทวันทวสมาส วิ.ว่า วาสี จ ผรสุ จ = วาสีผรสุ แจกเหมือน วตฺถุ เฉพาะฝ่ายเอก.

ศัพท์บาลี --->>วาสีอาทีนิ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (วตฺถูนิ) ซึ่งวัตถุ ท. มีมีดเป็นต้น เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า วาสี อาทิ เยสํ ตานิ วาสีอาทีนิ (วตฺถูนิ) แจกเหมือน อกฺขิ

ศัพท์บาลี --->>วาสุลทตฺตา-->> คำแปล --->>น.,อิต. พระนางวาสุลทัตตา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ฉ.เอก. วาสุลทตฺตาย ของพระนางวาสุลทัตตา

ศัพท์บาลี --->>วาหน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. พาหนะ แจกเหมือน กุล เช่น ป.พหุ. วาหนานิ อ. พาหนะ ท.

ศัพท์บาลี --->>วาเจตฺวา-->> คำแปล --->>ก. อ่านแล้ว วจ ธาตุ ในความกล่าว + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น วาเจตฺวา

ศัพท์บาลี --->>วาเจถ-->> คำแปล --->>๑ ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) จงบอก วจ ธาตุ ในความกล่าว + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ถ ปัญจมีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น วาเจถ เช่น ตุมฺเห กิร ... ธมฺมํ วาเจถ = ได้ยินว่า อ. ท่าน ท. จงบอก ซึ่งธรรม [ธ. ๓: ฉตฺตปาณิ- หน้า ๔๓]

ศัพท์บาลี --->>วาเจถ-->> คำแปล --->>๒ ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท., อ. พระองค์) ยัง...จงให้บอก วจ ธาตุ ในความกล่าว + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ถ ปัญจมีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น วาเจถ เช่น ... ปพฺพชิตํ ปกฺโกสาเปตฺวา ธมฺมํ วาเจถ = อ. พระองค์ ให้เรียกมาแล้ว ซึ่งบรรชิต ... ยังบรรพชิตนั้น จงให้ บอก ซึ่งธรรม [ธ. ๓: ฉตฺตปาณิ- หน้า ๔๓]

ศัพท์บาลี --->>วาเจนฺต-->> คำแปล --->>ก. บอกอยู่ วจ ธาตุ ในความกล่าว + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ได้รูปเป็น วาเจนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>วาเจสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น พฺราหฺมโณ อ. พราหมณ์) บอกแล้ว วจ ธาตุ ในความกล่าว + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น วาเจสิ

ศัพท์บาลี --->>วาเจสฺสติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชโน อ. ชน) จักบอก วจ ธาตุ ในความกล่าว + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสติ ภวิสสันติวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น วาเจสฺสติ

ศัพท์บาลี --->>วาเจหิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จงบอก วจ ธาตุ ในความกล่าว + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น วาเจหิ

ศัพท์บาลี --->>วาเทนฺต-->> คำแปล --->>ก. ดีดอยู่ วท ธาตุ ในความกล่าว + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ได้รูปเป็น วาเทนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>วาเรติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น อาชีวโก อ. อาชีวก) ย่อมห้าม วร ธาตุ ในความห้าม +เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น วาเรติ

ศัพท์บาลี --->>วาเรตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันอัน...ห้าม, เพื่ออันห้าม วร ธาตุ ในความห้าม +เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น วาเรตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>วาเรตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ขอแล้ว, ห้ามแล้ว วร ธาตุ ในความห้าม +เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น วาเรตฺวา

ศัพท์บาลี --->>วาเรถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) จงห้าม วร ธาตุ ในความห้าม + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ถ ปัญจมีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น วาเรถ

ศัพท์บาลี --->>วาเรนฺต-->> คำแปล --->>ก. ห้ามอยู่ วร ธาตุ ในความห้าม + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ได้รูปเป็น วาเรนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>วาเรสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ปุตฺโต อ. บุตร) ห้ามแล้ว วร ธาตุ ในความห้าม + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น วาเรสิ

ศัพท์บาลี --->>วาเรสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) จักห้าม วร ธาตุ ในความห้าม + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น วาเรสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>วาเสถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) ยัง...จงให้อยู่ทับ วส ธาตุ ในความอยู่ + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ถ ปัญจมีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น วาเสถ

ศัพท์บาลี --->>วาเสสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น มาตาปิตโร อ. มารดาและบิดา ท.) ยัง...ให้อยู่แล้ว วส ธาตุ ในความอยู่ + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม สำเร็จรูปเป็น วาเสสุ

ศัพท์บาลี --->>วาโลทก-->> คำแปล --->>น.,นปุ. นํ้าหาง แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. วาโลทกํ ซึ่งนํ้าหาง เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า วาลํ อุทกํ = วาโลทกํ

ศัพท์บาลี --->>วาโลทกชาตก-->> คำแปล --->>น.,นปุ. วาโลทกชาดก แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. วาโลทกชาตกํ ซึ่งวาโลทกชาดก


คำศัทพ์