ศัพท์บาลี --->>มาตา-->> คำแปล --->>น.,อิต. อ.มารดา ดู มาตุ มารดา ลง สิ ป.เอก. สำเร็จเป็นเป็น มาตา

ศัพท์บาลี --->>มาตาธีตโร-->> คำแปล --->>น.,อิต. อ. มารดาและธิดา ท. เป็น อสมาหารทวันทวสมาส วิ.ว่า มาตา จ ธีตา จ = มาตาธีตโร แจกเหมือน มาตุ

ศัพท์บาลี --->>มาตาปิตุฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ฐานะเพียงดังมารดา และบิดา แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. มาตาปิตุฏฺาเน ในฐานะเพียงดังมารดาและบิดา เป็น วิเสสโนปมบท กัมมธารยสมาส มีอสมาหาร ทวันทวสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทวัน.วิ. มาตา จ ปิตา จ = มาตาปิตโร วิ.โนปม.กัม.วิ. มาตาปิตโร อิว านํ = มาตาปิตุฏฺานํ

ศัพท์บาลี --->>มาตาปิตุวสนฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ.ที่เป็นที่อยู่แห่งมารดาและบิดา แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. มาตาปิตุวสนฏฺานํ สู่ที่เป็นที่อยู่แห่งมารดาและบิดา เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีอสมาหารทวันทวสมาส และฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทวัน.วิ. มาตา จ ปิตา จ = มาตาปิตโร ฉ.ตัป.วิ. มาตา-ปิตูนํ วสนํ = มาตาปิตุวสนํ (านํ) วิ.บุพ.กัม.วิ. มาตาปิตุวสนํ านํ = มาตาปิตุวสนฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ หน้า ] คำว่า วสน ในคำว่า มาตาปิตุ- วสนฏฺานํ มาจาก วส ธาตุ ในความอยู่ + ยุ ปัจจัย แปลง ยุ เป็น อน ได้รูปเป็น วสน แปลว่า เป็น ที่อยู่ เป็นกัตตุรูป อธิกรณสาธนะ วิ.ว่า มาตา- ปิตโร วสนฺติ เอตฺถาติ มาตาปิตุวสนํ (านํ) มารดาและบิดา ท. ย่อมอยู่ ในที่นั่น เหตุนั้น ที่นั่น ชื่อว่าเป็นที่อยู่แห่งมารดาและบิดา

ศัพท์บาลี --->>มาตาปิตุอุปฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. การบำรุงซึ่งมารดาและบิดา แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. มาตาปิตุ อุปฏฺานํ ยังการบำรุงซึ่งมารดาและบิดา เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีอสมาหารทวันทวสมาส เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทวัน.วิ. มาตา จ ปิตา จ = มาตาปิตโร ฉ.ตัป.วิ. มาตาปิตูนํ อุปฏฺานํ = มาตาปิตุอุปฏฺานํ

ศัพท์บาลี --->>มาตาปิตโร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อ. มารดาและบิดา ท. เป็น อสมาหารทวันทวสมาส วิ.ว่า มาตา จ ปิตา จ = มาตาปิตโร แจกเหมือน ปิตุ

ศัพท์บาลี --->>มาตาปุตฺตานํ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. แก่พระมารดาและพระ โอรส ท. เป็นอสมาหารทวันทวสมาส แจกเหมือน ปุริส เช่น จ.พหุ. มาตาปุตฺตานํ แก่พระมารดา และพระโอรส ท. วิ.ว่า มาตา จ ปุตฺโต จ = มาตาปุตฺตา

ศัพท์บาลี --->>มาตามห-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ปู่, ตา แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. มาตามโห อ. ปู่, อ. ตา

ศัพท์บาลี --->>มาตามหกุล-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ตระกูลแห่งตาและยาย แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. มาตามหกุลํ ซึ่งตระกูลแห่งตาและยาย เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีปเรกเสสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ปเรก.วิ. ปิตามโห จ มาตามหา จ = มาตามหา ตาและยาย ท. ฉ.ตัป.วิ. มาตา- มหานํ กุลํ = มาตามหกุลํ

ศัพท์บาลี --->>มาตามหา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ย่า, ยาย แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. มาตามหา อ. ย่า, อ. ยาย

ศัพท์บาลี --->>มาตาเปติภร-->> คำแปล --->>ว. ผู้เลี้ยงซึ่งมารดาและบิดา ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. มาตาเปติภรํ (ชนฺตุ) ซึ่งสัตว์เกิด ผู้เลี้ยงซึ่งมารดาและบิดา [ธ. ๒: สกฺกวตฺถุ หน้า ๙๗] ลง อ ปัจจัย เป็น กัตตุรูป กัตตุสาธนะ มีอสมาหารทวันทวสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทวัน.วิ. มาตา จ เปติ จ = มาตาเปตโย มารดาและ บิดา ท. อ.กัต.กัต.วิ. มาตาเปตโย ภรตีติ มาตาเปติภโร (ชนฺตุ) สัตว์เกิดใด ย่อมเลี้ยง ซึ่งมารดาและบิดา ท. เหตุนั้น สัตว์เกิดนั้น ชื่อว่า มาตาเปติภโรๆ ผู้เลี้ยงซึ่งมารดาและบิดา คำว่า บิดา ส่วนใหญ่มาจากศัพท์ว่า ปิตุ = ปา ธาตุ ใน ความรักษา + ริตุ ปัจจัยนอกแบบ ลบ อา ที่สุด ธาตุ ลบ ร ที่ ริตุ ได้รูปเป็น ปิตุ แปลว่า ผู้รักษา (บุตร) หมายถึงบิดา วิ.ว่า (ปุตฺตํ) ปาติ รกฺขตีติ ปิตา แต่ตรงนี้ใช้ เปติ แปลว่า บิดา มาจาก ปา ธาตุ + ติ ปัจจัย แปลง อา ที่ ปา เป็น อิ วิการ อิ เป็น เอ ได้รูปเป็น เปติ แปลว่า ผู้รักษา หมายถึง บิดาเหมือนกัน วิ.ว่า (ปุตฺตํ) ปาติ รกฺขตีติ เปติ แจกเหมือน มุนิ


คำศัทพ์