ศัพท์บาลี --->>มา-->> คำแปล --->>นิ. อย่า ใช้ปฏิเสธธาตุที่ประกอบด้วยวิภัตติ ๔ หมวด คือ ๑. หมวดปัญจมี เช่น มา กโรตุ จงอย่ากระทำ ๒. หมวดสัตตมี เช่น มา อาหเรยฺยาสิ อย่าพึงนำมา ๓. หมวดหิยัตตนี เช่น มา อวจ อย่าได้กล่าวแล้ว ๔. หมวด อัชชัตตนี เช่น มา กริ อย่ากระทำแล้ว

ศัพท์บาลี --->>มาคนฺทิย-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นายมาคันทิยะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. มาคนฺทิโย อ. นายมาคันทิยะ

ศัพท์บาลี --->>มาคนฺทิยปมุข-->> คำแปล --->>ว. มีพระนางมาคันทิยาเป็นประมุข เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ฉ.พหุ. มาคนฺทิยปมุขานํ (ญาติสตานํ) แห่งร้อยแห่งญาติ ท. มีพระนาง มาคันทิยาเป็นประมุข [ธ. ๒: สามาวตีวตฺถุ หน้า ๑] วิ.ว่า มาคนฺทิยา ปมุขํ เยสํ ตานิ มาคนฺทิยปมุขานิ (ญาติสตานิ)

ศัพท์บาลี --->>มาคนฺทิยพฺราหฺมณ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พราหมณ์ชื่อว่า มาคันทิยะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ฉ.เอก. มาคนฺทิยพฺราหฺมณสฺส ของพราหมณ์ชื่อว่า มาคันทิยะ ดู มหากจฺจายนตฺเถร

ศัพท์บาลี --->>มาคนฺทิยา-->> คำแปล --->>น.,อิต. พระนางมาคันทิยา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. มาคนฺทิยา อ. พระนาง มาคันทิยา

ศัพท์บาลี --->>มาณว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. มาณพ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. มาณโว อ. มาณพ

ศัพท์บาลี --->>มาณวกวณฺณ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. วรรณะเพียงดังวรรณะแห่ง มาณพ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. มาณวก วณฺณํ ซึ่งวรรณะเพียงดังวรรณะแห่งมาณพ เป็นวิเสสโนปมบท กัมมธารยสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. มาณวกสฺส วณฺโณ = มาณวกวณฺโณ วิ.โนปม.กัม.วิ. มาณวกวณฺโณ อิว วณฺโณ = มาณวกวณฺโณ [ลบ วณฺณ ศัพท์หน้า]

ศัพท์บาลี --->>มาณวกสต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ร้อยแห่งมาณพ ดู อตฺต- ภาวสต

ศัพท์บาลี --->>มาตงฺค-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. มาตังคะ (ชื่อของช้าง) แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. มาตงฺโค (หตฺถี) อ. ช้าง ชื่อว่ามาตังคะ

ศัพท์บาลี --->>มาตรํ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ซึ่งมารดา ดู มาตุ มารดา ลง อํ ทุ.เอก. สำเร็จเป็นเป็น มาตรํ

ศัพท์บาลี --->>มาตลิ-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. มาตลี (ชื่อของเทพบุตร) แจกเหมือน มุนิ เช่น ทุ. เอก. มาตลึ (เทวปุตฺตํ) ซึ่งเทพบุตรชื่อว่ามาตลี

ศัพท์บาลี --->>มาตา-->> คำแปล --->>น.,อิต. อ.มารดา ดู มาตุ มารดา ลง สิ ป.เอก. สำเร็จเป็นเป็น มาตา

ศัพท์บาลี --->>มาตาธีตโร-->> คำแปล --->>น.,อิต. อ. มารดาและธิดา ท. เป็น อสมาหารทวันทวสมาส วิ.ว่า มาตา จ ธีตา จ = มาตาธีตโร แจกเหมือน มาตุ

ศัพท์บาลี --->>มาตาปิตุฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ฐานะเพียงดังมารดา และบิดา แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. มาตาปิตุฏฺาเน ในฐานะเพียงดังมารดาและบิดา เป็น วิเสสโนปมบท กัมมธารยสมาส มีอสมาหาร ทวันทวสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทวัน.วิ. มาตา จ ปิตา จ = มาตาปิตโร วิ.โนปม.กัม.วิ. มาตาปิตโร อิว านํ = มาตาปิตุฏฺานํ

ศัพท์บาลี --->>มาตาปิตุวสนฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ.ที่เป็นที่อยู่แห่งมารดาและบิดา แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. มาตาปิตุวสนฏฺานํ สู่ที่เป็นที่อยู่แห่งมารดาและบิดา เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีอสมาหารทวันทวสมาส และฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทวัน.วิ. มาตา จ ปิตา จ = มาตาปิตโร ฉ.ตัป.วิ. มาตา-ปิตูนํ วสนํ = มาตาปิตุวสนํ (านํ) วิ.บุพ.กัม.วิ. มาตาปิตุวสนํ านํ = มาตาปิตุวสนฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ หน้า ] คำว่า วสน ในคำว่า มาตาปิตุ- วสนฏฺานํ มาจาก วส ธาตุ ในความอยู่ + ยุ ปัจจัย แปลง ยุ เป็น อน ได้รูปเป็น วสน แปลว่า เป็น ที่อยู่ เป็นกัตตุรูป อธิกรณสาธนะ วิ.ว่า มาตา- ปิตโร วสนฺติ เอตฺถาติ มาตาปิตุวสนํ (านํ) มารดาและบิดา ท. ย่อมอยู่ ในที่นั่น เหตุนั้น ที่นั่น ชื่อว่าเป็นที่อยู่แห่งมารดาและบิดา

ศัพท์บาลี --->>มาตาปิตุอุปฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. การบำรุงซึ่งมารดาและบิดา แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. มาตาปิตุ อุปฏฺานํ ยังการบำรุงซึ่งมารดาและบิดา เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีอสมาหารทวันทวสมาส เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทวัน.วิ. มาตา จ ปิตา จ = มาตาปิตโร ฉ.ตัป.วิ. มาตาปิตูนํ อุปฏฺานํ = มาตาปิตุอุปฏฺานํ

ศัพท์บาลี --->>มาตาปิตโร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อ. มารดาและบิดา ท. เป็น อสมาหารทวันทวสมาส วิ.ว่า มาตา จ ปิตา จ = มาตาปิตโร แจกเหมือน ปิตุ

ศัพท์บาลี --->>มาตาปุตฺตานํ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. แก่พระมารดาและพระ โอรส ท. เป็นอสมาหารทวันทวสมาส แจกเหมือน ปุริส เช่น จ.พหุ. มาตาปุตฺตานํ แก่พระมารดา และพระโอรส ท. วิ.ว่า มาตา จ ปุตฺโต จ = มาตาปุตฺตา

ศัพท์บาลี --->>มาตามห-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ปู่, ตา แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. มาตามโห อ. ปู่, อ. ตา

ศัพท์บาลี --->>มาตามหกุล-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ตระกูลแห่งตาและยาย แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. มาตามหกุลํ ซึ่งตระกูลแห่งตาและยาย เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีปเรกเสสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ปเรก.วิ. ปิตามโห จ มาตามหา จ = มาตามหา ตาและยาย ท. ฉ.ตัป.วิ. มาตา- มหานํ กุลํ = มาตามหกุลํ

ศัพท์บาลี --->>มาตามหา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ย่า, ยาย แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. มาตามหา อ. ย่า, อ. ยาย

ศัพท์บาลี --->>มาตาเปติภร-->> คำแปล --->>ว. ผู้เลี้ยงซึ่งมารดาและบิดา ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. มาตาเปติภรํ (ชนฺตุ) ซึ่งสัตว์เกิด ผู้เลี้ยงซึ่งมารดาและบิดา [ธ. ๒: สกฺกวตฺถุ หน้า ๙๗] ลง อ ปัจจัย เป็น กัตตุรูป กัตตุสาธนะ มีอสมาหารทวันทวสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทวัน.วิ. มาตา จ เปติ จ = มาตาเปตโย มารดาและ บิดา ท. อ.กัต.กัต.วิ. มาตาเปตโย ภรตีติ มาตาเปติภโร (ชนฺตุ) สัตว์เกิดใด ย่อมเลี้ยง ซึ่งมารดาและบิดา ท. เหตุนั้น สัตว์เกิดนั้น ชื่อว่า มาตาเปติภโรๆ ผู้เลี้ยงซึ่งมารดาและบิดา คำว่า บิดา ส่วนใหญ่มาจากศัพท์ว่า ปิตุ = ปา ธาตุ ใน ความรักษา + ริตุ ปัจจัยนอกแบบ ลบ อา ที่สุด ธาตุ ลบ ร ที่ ริตุ ได้รูปเป็น ปิตุ แปลว่า ผู้รักษา (บุตร) หมายถึงบิดา วิ.ว่า (ปุตฺตํ) ปาติ รกฺขตีติ ปิตา แต่ตรงนี้ใช้ เปติ แปลว่า บิดา มาจาก ปา ธาตุ + ติ ปัจจัย แปลง อา ที่ ปา เป็น อิ วิการ อิ เป็น เอ ได้รูปเป็น เปติ แปลว่า ผู้รักษา หมายถึง บิดาเหมือนกัน วิ.ว่า (ปุตฺตํ) ปาติ รกฺขตีติ เปติ แจกเหมือน มุนิ

ศัพท์บาลี --->>มาติกา-->> คำแปล --->>น.,อิต. เหมือง แจกเหมือน กญฺญา เช่น ต.เอก. มาติกาย ด้วยเหมือง

ศัพท์บาลี --->>มาติฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ตำแหน่งเพียงดังมารดา แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. มาติฏฺาเน ในตำแหน่งเพียงดังมารดา เป็นวิเสสโนปมบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า มาติ อิว านํ = มาติฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ หน้า ] คำว่า มารดา ส่วนใหญ่มาจากศัพท์ว่า มาตุ = มา ธาตุ ในความนับถือ + ตุ ปัจจัย ได้รูป เป็น มาตุ แปลว่า ผู้นับถือ (บุตรโดยธรรม) วิ.ว่า (ธมฺเมน ปุตฺตํ) มาตีติ มาตา แต่ตรงนี้ใช้ มาติ แปลว่า มารดา มาจาก มา ธาตุ + ติ ปัจจัย ได้ รูปเป็น มาติ แปลว่า ผู้นับถือ หมายถึงมารดา เหมือนกัน วิ.ว่า (ธมฺเมน ปุตฺตํ) มาตีติ มาติ แจกเหมือน รตฺติ

ศัพท์บาลี --->>มาติปกฺข-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ฝ่ายแห่งพระมารดา แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. มาติปกฺโข อ. ฝ่ายแห่งพระมารดา เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า มาติยา ปกฺโข = มาติปกฺโข เฉพาะตติยาวิภัตติ ฝ่ายเอก. ลง โต ปัจจัย เป็น มาติปกฺขโต ข้างฝ่ายแห่งพระมารดา บ้าง คำว่า มาติ ดู มาติฏฺาน

ศัพท์บาลี --->>มาตุ-->> คำแปล --->>น.,อิต. มารดา เป็นศัพท์ต้นแบบในการแจก มีศัพท์แจกเหมือน ๑ ศัพท์ คือ ธีตุ เช่น ป.เอก. มาตา อ. มารดา

ศัพท์บาลี --->>มาตุกุจฺฉิ-->> คำแปล --->>น.,ปุ.,อิต. ท้องของมารดา เป็นฉัฏฐี ตัปปุริสสมาส ปุ. แจกเหมือน มุนิ เช่น ส.เอก. มาตุกุจฺฉิมฺหิ อิต. แจกเหมือน รตฺติ เช่น ส.เอก. มาตุกุจฺฉิยํ วิ.ว่า มาตุยา กุจฺฉิ = มาตุกุจฺฉิ เฉพาะปัญจมีวิภัตติ ฝ่ายเอก. ลง โต ปัจจัย เป็น มาตุกุจฺฉิโต จากท้องของมารดา บ้าง

ศัพท์บาลี --->>มาตุกุจฺฉิคต-->> คำแปล --->>ว. ผู้อยู่แล้วในท้องของมารดา เป็นสัตตมีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. มาตุยา กุจฺฉิ = มาตุกุจฺฉิ ส.ตัป.วิ. มาตุกุจฺฉิยํ คตา = มาตุกุจฺฉิคตา (สตฺตา) ผู้อยู่แล้วในท้องของมารดา [อยู่ในที่ไม่ควรอยู่ เช่น ในท้อง ใช้ คต แปลว่า อยู่แล้ว]

ศัพท์บาลี --->>มาตุคาม-->> คำแปล --->>น.,ปุ. มาตุคาม แจกเหมือน ปุริส เช่น ฉ.เอก. มาตุคามสฺส ของมาตุคาม

ศัพท์บาลี --->>มาตุคามรหิตฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่อันเว้นแล้วจากมาตุคาม แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. มาตุ- คามรหิตฏฺานํ อ. ที่อันเว้นแล้วจากมาตุคาม เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีปัญจมี ตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ปัญจ.ตัป.วิ. มาตุคามสฺมา รหิตํ = มาตุ- คามรหิตํ (านํ) วิ.บุพ.กัม.วิ. มาตุคามรหิตํ านํ = มาตุคามรหิตฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ หน้า ]

ศัพท์บาลี --->>มาตุคามสต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ร้อยแห่งมาตุคาม ดู อตฺตภาวสต

ศัพท์บาลี --->>มาตุจฺฉาปุตฺต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระโอรสของพระน้านาง แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. มาตุจฺฉาปุตฺโต อ. พระโอรสของพระน้านาง เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า มาตุจฺฉาย ปุตฺโต = มาตุจฺฉาปุตฺโต

ศัพท์บาลี --->>มาตุฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ฐานะแห่งมารดา แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. มาตุฏฺาเน ในฐานะแห่งมารดา ดู มาตุโคตฺต

ศัพท์บาลี --->>มาตุล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ลุง แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. มาตุโล อ. ลุง

ศัพท์บาลี --->>มาตุลกุฏุมฺพิก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กุฎุมพีผู้เป็นลุง แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. มาตุลกุฏุมฺพิโก อ. กุฎุมพีผู้เป็น ลุง เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า มาตุโล กุฏุมฺพิโก = มาตุลกุฏุมฺพิโก

ศัพท์บาลี --->>มาตุลธีตุ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ธิดาของลุง แจกเหมือน มาตุ เช่น ป.เอก. มาตุลธีตา อ. ธิดาของลุง เป็นฉัฏฐี ตัปปุริสสมาส วิ.ว่า มาตุลสฺส ธีตา = มาตุลธีตา

ศัพท์บาลี --->>มาตุลปุตฺต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. บุตรของลุง แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. มาตุลปุตฺโต อ. บุตรของลุง ดู มาตุจฺฉาปุตฺต

ศัพท์บาลี --->>มาตุลพฺราหฺมณ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พราหมณ์ผู้เป็นลุง แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. มาตุลพฺราหฺมณํ ซึ่งพราหมณ์ผู้เป็นลุง ดู มาตุลกุฏุมฺพิก

ศัพท์บาลี --->>มาตุลพฺราหฺมณวตฺถุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งพราหมณ์ผู้เป็นลุง เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มี วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. มาตุโล พฺราหฺมโณ = มาตุลพฺราหฺมโณ ฉ.ตัป.วิ. มาตุล- พฺราหฺมณสฺส วตฺถุ = มาตุลพฺราหฺมณวตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>มาตุโคตฺต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. โคตรของมารดา แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. มาตุโคตฺตํ อ. โคตรของมารดา เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า มาตุยา โคตฺตํ = มาตุโคตฺตํ

ศัพท์บาลี --->>มาทิส-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. เช่นกับด้วยเรา แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. มาทิโส (ปุคฺคโล) อ. บุคคล เช่นกับด้วยเรา เป็นตติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เม อาทิโส = มาทิโส (ปุคฺคโล) คำว่า มาทิส มาจาก เม + อาทิส ลบสระหน้า คือ เอ ที่ เม ได้รูปเป็น มาทิส [ปุ. อาทิส อิต. อาทิสี นปุ. อาทิส]

ศัพท์บาลี --->>มาทิสิโย-->> คำแปล --->>ว.,อิต. (อิตฺถิโย) อ. หญิง ท. ผู้เช่นกับด้วยหม่อมฉัน [ธ. ๓:อญฺญตรปุริสวตฺถุ หน้า ๑๑๓] เป็นตติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เม อาทิสิโย = มาทิสิโย (อิตฺถิโย) คำว่า มาทิสิโย มาจาก เม + อาทิสิโย ลบสระหน้า คือ เอ ที่ เม ได้รูปเป็น มาทิสิโย

ศัพท์บาลี --->>มาน-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความถือตัว, มานะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. มาโน อ. ความถือตัว, อ. มานะ

ศัพท์บาลี --->>มานตฺถทฺธ-->> คำแปล --->>ว. ผู้กระด้างแล้วเพราะมานะ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. มานตฺถทฺโธ (เถโร) อ. พระเถระ ผู้กระด้างแล้วเพราะมานะ เป็นตติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า มาเนน ถทฺโธ = มานตฺถทฺโธ (เถโร) [ซ้อน ตฺ หน้า ถ]

ศัพท์บาลี --->>มานนิสฺสิต-->> คำแปล --->>ว. ผู้อาศัยแล้วซึ่งมานะ ปุ.แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. มานนิสฺสิตา (มยํ) อ. เรา ท. ผู้อาศัยแล้วซึ่งมานะ [ธ.๑:เทวทตฺตวตฺถุ หน้า ๑๒๘] เป็นทุติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า มานํ นิสฺสิตา = มานนิสฺสิตา (มยํ)

ศัพท์บาลี --->>มานส-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ใจ แจกเหมือน มน เช่น ป.เอก. มานสํ อ. ใจ

ศัพท์บาลี --->>มานุส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ประชุมแห่งมนุษย์ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.พหุ. มานุเส ซึ่งประชุมแห่งมนุษย์ ท. ลง ณ ปัจจัย ในสมุหตัทธิต วิ.ว่า มนุสฺสานํ สมุโห = มานุโส คำว่า มานุโส มาจาก มนุสฺส + ณ ปัจจัย ใช้แทน สมุห ศัพท์ + สิ ปฐมาวิภัตติ ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย ทีฆะต้นศัพท์ คือ อ ที่ ม เป็น อา เป็น มานุสฺส + ณ + สิ พยัญชนะซ้อนเรียงกัน ๒ ตัว ลบตัวที่เป็นพยัญชนะสังโยคทิ้งเสีย ลบ ณ ทิ้ง ได้รูปเป็น มานุส + สิ แปลง อ กับ สิ เป็น โอ สำเร็จรูปเป็น มานุโส

ศัพท์บาลี --->>มานุสี-->> คำแปล --->>ว.,อิต. อันเป็นของมีอยู่แห่งมนุษย์ แจกเหมือน นารี เช่น ทุ.เอก. มานุสึ (โยนึ) ซึ่งกำเนิด อันเป็นของมีอยู่แห่งมนุษย์ มาจาก มนุสฺส + ณ ปัจจัย ในราคาทิตัทธิต ใช้แทน สนฺตกา ศัพท์ ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย ทีฆะต้นศัพท์ คือ อ ที่ ม เป็น อา เป็น มานุสฺส + ณ + สิ พยัญชนะซ้อนเรียงกัน ๒ ตัว ลบตัวที่เป็นพยัญชนะสังโยคทิ้งเสีย ลบ ณ ทิ้ง ได้รูปเป็น มานุส + สิ อิต. ลง อี เครื่องหมาย อิต. เป็น มานุสี ลง สิ ลบ สิ เสีย สำเร็จรูปเป็น มานุสี วิ.ว่า มนุสฺสสฺส สนฺตกา = มานุสี (โยนิ) กำเนิด อันเป็นของมีอยู่ แห่งมนุษย์ ชื่อว่า มานุสีๆ อันเป็นของมีอยู่แห่งมนุษย์

ศัพท์บาลี --->>มาปมาทกนฺทรา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ซอกชื่อว่ามาปมาทะ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. มาปมาทกนฺทรา อ. ซอกชื่อว่ามาปมาทะ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า มาปมาทา กนฺทรา = มาปมาทกนฺทรา เฉพาะปัญจมีวิภัตติ ฝ่ายเอก. ลง โต ปัจจัย เป็น มาปมาทกนฺทรโต แต่ซอกชื่อว่ามาปมาทะ บ้าง

ศัพท์บาลี --->>มาร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. มาร แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. มาโร อ. มาร

ศัพท์บาลี --->>มาร-->> คำแปล --->>ปุ. สภาพผู้ฆ่า, สภาพผู้ทำลาย(ความดี),มาร,มารคือกามเทพ. วิ. สตฺตานํ กุสลํ มาเรตีติ มาโร (ยังความดีของสัตว์ให้ตาย). กุสลธมฺเม มาเรตีติ วา มาโร(ยังกุศลธรรมให้ตาย).มรฺปาณจาเค,โณ. ทางศาสนาจัด กิเลสกาม เป็น วัตถุกาม เป็นบ่วงแห่งมาร.

ศัพท์บาลี --->>มารธีตุ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ธิดาแห่งมาร แจกเหมือน มาตุ เช่น ป.พหุ. มารธีตโร อ. ธิดาแห่งมาร ท. เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า มารสฺส ธีตโร = มาร-ธีตโร บางครั้งเป็น มารธีตา แจกเหมือน กญฺญา ก็มี เช่น ต.พหุ. มารธีตาหิ อันธิดาแห่งมาร ท.

ศัพท์บาลี --->>มารพนฺธน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. เครื่องผูกแห่งมาร แจกเหมือน กุล เช่น ปัญจ.เอก. มารพนฺธนา จากเครื่องผูกแห่งมาร เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า มารสฺส พนฺธนํ = มารพนฺธนํ

ศัพท์บาลี --->>มารพลํ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ซึ่งมารและพลแห่งมาร แจกเหมือน กุล เป็นสมาหารทวันทวสมาส มีฉัฏฐี ตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. มารสฺส พลํ = มารพลํ ส.ทวัน.วิ. มาโร จ มารพลญฺจ มารพลํ [ลบ มาร ศัพท์หลัง]

ศัพท์บาลี --->>มาราปนปณฺณ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. หนังสือเป็นเหตุยัง…ให้ตาย แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. มาราปน- ปณฺณํ ซึ่งหนังสือเป็นเหตุยัง…ให้ตาย เป็นวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป กรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.กัต.วิ. มาราเปติ เอเตนาติ มาราปนํ (ปณฺณํ) เขา ยัง…ย่อมให้ตาย ด้วยหนังสือนั่น เหตุนั้น หนังสือนั่น ชื่อว่า มาราปนํๆ เป็นเหตุยัง…ให้ตาย วิ.บุพ.กัม.วิ. มาราปนํ ปณฺณํ = มาราปนปณฺณํ คำว่า มาราปน มาจาก มร ธาตุ ในความตาย + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ยุ ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณาเป ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป เป็น มาราเป + ยุ แปลง ยุ เป็น อน ลบ เอ ที่ เป ได้รูปเป็น มาราปน แปลว่า เป็นเหตุยัง…ให้ตาย

ศัพท์บาลี --->>มาราปิต-->> คำแปล --->>ก. ให้ปลงพระชนม์แล้ว, ให้ตายแล้ว มร ธาตุ ในความตาย + ณาเป ปัจจัย + ต ปัจจัยเป็นเหตุกัมมวาจก ด้วยอำนาจ ณาเป ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป เป็น มาราเป + ต ลง อิ อาคมหลังปัจจัย ลบ เอ ที่ เป ได้รูปเป็น มาราปิต แปลว่า ให้ปลงพระชนม์ แล้ว, ให้ตายแล้ว ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>มาราปิตตฺตา-->> คำแปล --->>น.,นปุ. เพราะความที่แห่ง…เป็น ผู้อันตนให้ปลงพระชนม์แล้ว ลง ตฺต ปัจจัย ในภาวตัทธิต วิ.ว่า มาราปิตสฺส ภาโว = มาราปิตตฺตํ แจกเหมือน กุล

ศัพท์บาลี --->>มาราวฏฺฏน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. เครื่องหมุนไปรอบแห่งมาร แจกเหมือน กุล เช่น ต.เอก. มาราวฏฺฏเนน อันเครื่องหมุนไปรอบแห่งมาร เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า มารสฺส อาวฏฺฏนํ = มาราวฏฺฏนํ

ศัพท์บาลี --->>มาราเปตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันอัน...ยัง...ให้ตาย, เพื่ออัน ให้ตาย มร ธาตุ ในความตาย + ณาเป ปัจจัยใน เหตุกัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณาเป ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น มาราเปตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>มาราเปนฺต-->> คำแปล --->>ก. ยัง...ให้ตายอยู่ มร ธาตุ ในความ ตาย + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณาเป ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น มาราเปนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>มาราเปสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) ยัง...จักให้ตาย มร ธาตุ ในความตาย + ณาเป ปัจจัย ในเหตุกัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ ด้วยอำนาจ ณาเป ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น มาราเปสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>มาริต-->> คำแปล --->>ก. อัน...ให้ตายแล้ว มร ธาตุ ในความตาย + เณ ปัจจัย + ต ปัจจัยเป็นเหตุกัมมวาจก ด้วย อำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ เป็น มาเร + ต ลง อิ อาคม ลบ เอ ที่ เร ได้รูปเป็น มาริต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>มาริตกาเล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ในกาลแห่ง…อัน…ให้ตายแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า มาริตสฺส กาโล = มาริตกาโล แจกเหมือน ปุริส เฉพาะปัญจมีวิภัตติ ฝ่ายเอก. ลง โต ปัจจัย เป็น มาริตกาลโต แต่กาลแห่ง…อัน…ให้ตายแล้ว บ้าง

ศัพท์บาลี --->>มาริตภาว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความที่แห่ง… เป็นผู้อัน…ให้สวรรคตแล้ว (ให้ตายแล้ว) แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. มาริตภาวํ ซึ่งความที่แห่ง… เป็น ผู้อัน…ให้สวรรคตแล้ว (ให้ตายแล้ว) เป็นฉัฏฐี ตัปปุริสสมาส วิ.ว่า มาริตสฺส ภาโว = มาริตภาโว

ศัพท์บาลี --->>มาริยมาน-->> คำแปล --->>ก. อัน…ให้ตายอยู่ มร ธาตุ ในความตาย + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อิ อาคม หน้า ย ปัจจัย + มาน ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ เป็น มาเร+ อิ + ย + มาน ลบ เอ ที่ เร ได้รูป เป็น มาริยมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>มาริส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ผู้เช่นกับด้วยเรา แจกเหมือน ปุริส เช่น อา.พหุ. มาริสา ดูก่อนท่านผู้เช่นกับด้วยเรา ท. เป็นตติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า เม อาริสา = มาริสา ดู มาทิส

ศัพท์บาลี --->>มารเธยฺย-->> คำแปล --->>น.,นปุ. บ่วงแห่งมาร แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. มารเธยฺยํ ซึ่งบ่วงแห่งมาร เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า มารสฺส เธยฺยํ = มารเธยฺยํ

ศัพท์บาลี --->>มาลา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ระเบียบ,ดอกไม้ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.พหุ. มาลา ซึ่งระเบียบ ท.

ศัพท์บาลี --->>มาลาการ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นายมาลาการ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. มาลากาโร อ. นายมาลาการ

ศัพท์บาลี --->>มาลาคนฺธวตฺถาทีนิ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (วตฺถูนิ) ซึ่งวัตถุ ท. มีระเบียบและของหอมและผ้าเป็นต้น เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีอสมาหาร ทวันทวสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทวัน.วิ. มาลา จ คนฺโธ จ วตฺถญฺจ = มาลาคนฺธวตฺถํ ฉ.ตุล.วิ. มาลาคนฺธวตฺถํ อาทิ เยสํ ตานิ มาลาคนฺธวตฺถาทีนิ (วตฺถูนิ) แจกเหมือน อกฺขิ

ศัพท์บาลี --->>มาลาคนฺธวิเลปนํ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ซึ่งระเบียบและของหอมและวัตถุเป็นเครื่องลูบไล้ เป็นสมาหาร ทวันทวสมาส วิ.ว่า มาลา จ คนฺโธ จ วิเลปนญฺจ = มาลาคนฺธวิเลปนํ แจกเหมือน กุล เฉพาะฝ่ายเอกวจนะ

ศัพท์บาลี --->>มาลาคนฺธาทิหตฺถ-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีวัตถุมีระเบียบและของหอมเป็นต้นในมือ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.พหุ. มาลาคนฺธาทิหตฺเถ (มนุสฺเส) ซึ่งมนุษย์ ท. ผู้มีวัตถุมีระเบียบและของหอมเป็นต้นในมือ เป็นฉัฏฐีภินนาธิกรณพหุพพิหิสมาส มี อสมาหารทวันทวสมาส และฉัฏฐีตุลยาธิกรณ พหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทวัน.วิ. มาลา จ คนฺโธ จ = มาลาคนฺธา ฉ.ตุล.วิ. มาลาคนฺธา อาทโย เยสํ ตานิ มาลา- คนฺธาทีนิ (วตฺถูนิ) ฉ.ภิน.พหุพ.วิ. มาลา- คนฺธาทีนิ หตฺเถสุ เยสํ เต มาลาคนฺธาทิ- หตฺถา (มนุสฺสา) แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>มาลาคุณ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กลุ่มแห่งระเบียบ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.พหุ. มาลาคุเณ ซึ่งกลุ่มแห่ง ระเบียบ ท. เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า มาลานํ คุโณ = มาลาคุโณ

ศัพท์บาลี --->>มาลาจุมฺพฏก-->> คำแปล --->>น.,นปุ. เทริดอันเป็นวิการแห่งดอกไม้ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. มาลา-จุมฺพฏกํ ซึ่งเทริดอันเป็นวิการแห่งดอกไม้ เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า มาลานํ (วิกาโร) จุมฺพฏกํ = มาลาจุมฺพฏกํ

ศัพท์บาลี --->>มาลาปฏิจฺฉนฺน-->> คำแปล --->>ว. อันระเบียบปกปิดแล้ว ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. มาลาปฏิจฺฉนฺเนน (อากาเรน) โดยอาการ อันระเบียบปกปิดแล้ว เป็นตติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า มาลาย ปฏิจฺฉนฺโน = มาลาปฏิจฺฉนฺโน (อากาโร)

ศัพท์บาลี --->>มาลาภาริเทวปุตฺต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เทพบุตรชื่อว่า มาลาภารี แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. มาลาภาริเทวปุตฺโต อ. เทพบุตรชื่อว่ามาลาภารี เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า มาลาภารี เทวปุตฺโต = มาลาภาริเทวปุตฺโต

ศัพท์บาลี --->>มาลาภารี-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้มีภาระคือระเบียบ แจกเหมือน เสฏฺ เช่น ป.เอก. มาลาภารี (ตฺวํ) อ. ท่าน ผู้มีภาระคือระเบียบ ลง อี ปัจจัยในตทัสสัตถิตัทธิต มีอวธารณบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อว.บุพ.กัม.วิ. มาลา เอว ภาโร = มาลาภาโร ภาระคือระเบียบ อี.ตทัส.วิ. มาลาภาโร อสฺส อตฺถีติ มาลาภารี (ตฺวํ) ภาระคือระเบียบ ของท่านนั้น มีอยู่ เหตุนั้น ท่านนั้น ชื่อว่า มาลาภารีๆ ผู้มีภาระคือระเบียบ

ศัพท์บาลี --->>มาลาวจฺฉ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กอแห่งดอกไม้ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. มาลาวจฺฉํ ซึ่งกอแห่งดอกไม้ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า มาลานํ วจฺโฉ = มาลาวจฺโฉ

ศัพท์บาลี --->>มาส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เดือน แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. มาโส อ. เดือน

ศัพท์บาลี --->>มาสมตฺต-->> คำแปล --->>ว. สักว่าเดือนหนึ่ง ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. มาสมตฺตํ (กาลํ) สิ้นกาล สักว่าเดือนหนึ่ง เป็นสัมภาวนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า มาโส อิติ มตฺโต = มาสมตฺโต (กาโล)

ศัพท์บาลี --->>มาเปสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น จูฬปนฺถโก อ. พระจูฬปันถก) เนรมิตแล้ว มาป ธาตุ ในความสร้าง, ความเนรมิต + เอ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น มาเปสิ

ศัพท์บาลี --->>มาเรตพฺพ-->> คำแปล --->>ก. อัน...พึงให้ตาย มร ธาตุ ในความตาย + เณ ปัจจัย + ตพฺพ ปัจจัยเป็นเหตุกัมมวาจก ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ได้รูปเป็น มาเรตพฺพ ดู อชานิตพฺพ

ศัพท์บาลี --->>มาเรติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น จุนฺทสูกริโก อ. นายจุนทสูกริก) ยัง...ย่อมให้ตาย [ธ. ๑:จุนฺทสูกริกวตฺถุ หน้า ๑๑๙] มร ธาตุ ในความตาย + เณ ปัจจัย ในเหตุกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น มาเรติ

ศัพท์บาลี --->>มาเรตุกาม-->> คำแปล --->>ว. ผู้ใคร่เพื่ออัน…ให้ตาย ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. มาเรตุกาโม (เสฏฺ) อ. เศรษฐีผู้ใคร่เพื่ออันให้ตาย เป็นจตุตถีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า มาเรตุ กาโม = มาเรตุกาโม (เสฏฺ)

ศัพท์บาลี --->>มาเรตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันอัน...ยัง...ให้ตาย, เพื่ออันให้ตาย มร ธาตุ ในความตาย + เณ ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น มาเรตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>มาเรตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง...ให้ตายแล้ว มร ธาตุ ในความ ตาย + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น มาเรตฺวา

ศัพท์บาลี --->>มาเรถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) ยัง...จงให้ตาย มร ธาตุ ในความตาย + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ถ ปัญจมีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น มาเรถ

ศัพท์บาลี --->>มาเรนฺต-->> คำแปล --->>ก. ยัง...ให้ตายอยู่ มร ธาตุ ในความตาย + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ด้วย อำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ได้รูปเป็น มาเรนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>มาเรนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชนา อ. ชน ท.) ยัง...ย่อมให้ตาย [ธ. ๓:สุปฺปพุทฺธ- หน้า ๑๓๐] มร ธาตุ ในความตาย + เณ ปัจจัย ในเหตุกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น มาเรนฺติ

ศัพท์บาลี --->>มาเรมิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) ยัง...ย่อมให้ตาย มร ธาตุ ในความตาย + เณ ปัจจัย ในเหตุกัตตุวาจก + มิ วัตตมานาวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น มาเรมิ

ศัพท์บาลี --->>มาเรยฺยํ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) ยัง...พึงให้ตาย มร ธาตุ ในความตาย + เณ ปัจจัย ในเหตุกัตตุวาจก + เอยฺยํ สัตตมีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ เป็น มาเร + เอยฺยํ ลบ เอ ที่ เร สำเร็จรูปเป็น มาเรยฺยํ

ศัพท์บาลี --->>มาเรสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เถโร อ. พระเถระ) ยัง...ให้ตายแล้ว [ธ. ๑: จกฺขุปาล- หน้า ๑๘] มร ธาตุ ในความตาย + เณ ปัจจัย ในเหตุกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนี วิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น มาเรสิ

ศัพท์บาลี --->>มาเรสฺสติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น โก อ. ใคร) ยัง...จักให้ตาย [ธ. ๔: ตมฺพทาก- หน้า ๘๗] มร ธาตุ ในความตาย + เณ ปัจจัย ในเหตุกัตตุวาจก + สฺสติ ภวิสสันติวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น มาเรสฺสติ

ศัพท์บาลี --->>มาเรสฺสนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น คาวิโย อ. แม่โค ท.) ยัง...จักให้ตาย [ธ. ๒:สามาวตีวตฺถุ หน้า ๑๔] มร ธาตุ ในความตาย + เณ ปัจจัย ในเหตุกัตตุวาจก + สฺสนฺติ ภวิสสันติวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น มาเรสฺสนฺติ

ศัพท์บาลี --->>มาเรสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) ยัง...จักให้ตาย มร ธาตุ ในความตาย + เณ ปัจจัย ในเหตุกัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น มาเรสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>มาเรหิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) ยัง...จงให้ตาย มร ธาตุ ในความตาย + เณ ปัจจัย ในเหตุกัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น มาเรหิ

ศัพท์บาลี --->>มาเส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สิ้นเดือน ท. ดู มาส เดือน แจกเหมือน ปุริส เช่น ท.พหุ. มาเส สิ้นเดือน ท.


คำศัทพ์