ศัพท์บาลี --->>ปญฺญา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ปัญญา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ต.เอก. ปญฺญาย ด้วยปัญญา

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาจกฺขุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. จักษุคือปัญญา แจกเหมือน วตฺถุ เช่น ฉ.เอก. ปญฺญาจกฺขุโน แห่งจักษุคือปัญญา เป็นอวธารณบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า ปญฺญา เอว จกฺขุ = ปญฺญาจกฺขุ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาจกฺขุวิรหิตา-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (สตฺตา) อ. สัตว์ ท. ผู้เว้น แล้วจากจักษุคือปัญญา เป็นปัญจมีตัปปุริสสมาส มีอวธารณบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อว.บุพ.กัม.วิ. ปญฺญา เอว จกฺขุ = ปญฺญาจกฺขุ ปัญจ.ตัป. วิ. ปญฺญาจกฺขุสฺมา วิรหิตา = ปญฺญาจกฺขุ- วิรหิตา (สตฺตา)

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาต-->> คำแปล --->>ก. ปรากฏแล้ว ป + ญา ธาตุ ในความรู้ + ต ปัจจัย ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ ได้รูปเป็น ปญฺญาต ดู นิพฺพินฺน [คำว่า ปญฺญาต ตามรูปศัพท์เป็น กัมมวาจก แปลว่า อันชน ท. รู้ทั่วแล้ว แต่นิยมแปลเอาความเป็นกัตตุวาจกว่า ปรากฏแล้ว]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญานุรูป-->> คำแปล --->>น.,นปุ. สมควรแก่ปัญญา แจกเหมือน กุล เช่น ต.เอก. ปญฺญานุรูเปน ตามสมควรแก่ปัญญา เป็นจตุตถีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ปญฺญาย อนุรูปํ = ปญฺญานุรูปํ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาปาสาท-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ปัญญาเพียงดังปราสาท แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. ปญฺญาปาสาทํ สู่ปัญญาเพียงดังปราสาท เป็นวิเสสโนปมบท กัมมธารยสมาส ชนิดอุปมานุตตรบท (มีอุปมา อยู่หลัง) วิ.ว่า ปญฺญา ปาสาโท อิว = ปญฺญาปาสาโท

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญายติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ปทเจติยํ อ. เจดีย์คือรอยพระบาท) ย่อมปรากฏ [ธ. ๒: สามาวตีวตฺถุ- หน้า ๓๙] ป + ญา ธาตุ ในความรู้ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูปเป็น ปญฺญายติ [คำว่า ปญฺญายติ ตามรูปศัพท์เป็นกัมมวาจก แปลว่า อันชน ท. ย่อมรู้ทั่ว แต่นิยมแปลเอาความเป็นกัตตุวาจกว่า ย่อมปรากฏ]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญายถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) ย่อมปรากฏ ป + ญา ธาตุ ในความรู้ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ถ วัตตมานาวิภัตติ ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูปเป็น ปญฺญายถ [คำว่า ปญฺญายถ ตามรูปศัพท์เป็น กัมมวาจก แปลว่า อันชน ท. ย่อมรู้ทั่ว แต่นิยมแปลเอาความเป็นกัตตุวาจกว่า ย่อมปรากฏ]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญายนกาเล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ในกาลเป็นที่ปรากฏ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ.วิ. ปญฺญายติ เอตฺถาติ ปญฺญายโน (กาโล) วิ.บุพ.กัม.วิ. ปญฺญายโน กาโล = ปญฺญายนกาโล คำว่า ปญฺญายน ใน คำว่า ปญฺญายนกาเล มาจาก ป + ญา ธาตุ ใน ความรู้ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ยุ ปัจจัย ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ แปลง ยุ เป็น อน สำเร็จรูปเป็น ปญฺญายน แปลว่า เป็นที่ปรากฏ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญายนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ภิกฺขู อ. ภิกษุ ท.) ย่อมปรากฏ [ธ. ๔ : มหากปฺปิน- หน้า ๑๙] ป + ญา ธาตุ ในความรู้ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูปเป็น ปญฺญายนฺติ [คำว่า ปญฺญายนฺติ ตามรูปศัพท์เป็นกัมมวาจก แปลว่า อันชน ท. ย่อมรู้ทั่ว แต่นิยมแปลเอาความเป็นกัตตุวาจกว่า ย่อมปรากฏ]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญายมาน-->> คำแปล --->>ก. ปรากฏอยู่ ป + ญา ธาตุ ในความรู้ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + มาน ปัจจัย ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ สำเร็จรูปเป็น ปญฺญายมาน ดู อชานมาน [คำว่า ปญฺญายมาน ตามรูปศัพท์เป็น กัมมวาจก แปลว่า อันชน ท. รู้ทั่วอยู่ แต่นิยมแปลเอาความเป็นกัตตุวาจกว่า ปรากฏอยู่]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญายมานรูป-->> คำแปล --->>ว. มีรูปปรากฏอยู่ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ปญฺญายมานรูโป (สตฺถา) อ. พระศาสดา มีพระรูปปรากฏอยู่ เป็นฉัฏฐี ตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า ปญฺญายมานํ รูปํ ยสฺส โส ปญฺญายมานรูโป (สตฺถา) พระรูป ของพระศาสดาใด ปรากฏอยู่ พระศาสดานั้น ชื่อว่ามีพระรูปปรากฏอยู่

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญายิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น มฏฺกุณฺฑลี อ. มัฏฐีกุณฑลี) ปรากฏแล้ว [ธ. ๑: มฏฺกุณฺฑลิวตฺถุ หน้า ๒๔] ป + ญา ธาตุ ในความรู้ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น ปญฺญายิ [คำว่า ปญฺญายิ ตามรูปศัพท์เป็นกัมมวาจก แปลว่า อันชน ท. รู้ทั่วแล้ว แต่นิยมแปลเอาความเป็นกัตตุวาจกว่า ปรากฏแล้ว]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญายิตฺถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) ปรากฏแล้ว ป + ญา ธาตุ ในความรู้ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺถ อัชชัตตนีวิภัตติ ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น ปญฺญายิตฺถ [คำว่า ปญฺญายิตฺถ ตามรูปศัพท์เป็นกัมมวาจก แปลว่า อันชน ท. รู้ทั่วแล้ว แต่นิยมแปลเอาความเป็นกัตตุวาจกว่า ปรากฏแล้ว]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญายิสฺสติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น อนฺโต อ. ที่สุด) จักปรากฏ [ธ. ๑: เทวทตฺตวตฺถุ หน้า ๑๒๗] ป + ญา ธาตุ ในความรู้ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสติ ภวิสสันติวิภัตติ ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น ปญฺญายิสฺสติ [คำว่า ปญฺญายิสฺสติ ตาม รูปศัพท์เป็นกัมมวาจก แปลว่า อันชน ท. จักรู้ แต่นิยมแปลเอาความเป็นกัตตุวาจกว่า จักปรากฏ]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญายิสฺสถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) จักปรากฏ ป + ญา ธาตุ ในความรู้ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสถ ภวิสสันติวิภัตติ ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น ปญฺญายิสฺสถ [คำว่า ปญฺญายิสฺสถ ตามรูปศัพท์เป็นกัมมวาจก แปลว่า อันชน ท. จักรู้ แต่นิยมแปลเอาความ เป็นกัตตุวาจกว่า จักปรากฏ]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญายิสฺสาม-->> คำแปล --->>ก. (มยํ อ. เรา ท.) จักปรากฏ ป + ญา ธาตุ ในความรู้ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสาม ภวิสสันติวิภัตติ ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น ปญฺญายิสฺสาม [คำว่า ปญฺญายิสฺสาม ตามรูปศัพท์เป็นกัมมวาจก แปลว่า อันชน ท. จักรู้ แต่นิยมแปลเอาความเป็นกัตตุวาจกว่า จักปรากฏ]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญายึสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น รถา อ. รถ ท.) ปรากฏแล้ว [ธ. ๓ : วิฑูฑภวตฺถุ หน้า ๑๗] ป + ญา ธาตุ ในความรู้ + ย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ แปลง อุ เป็น อึสุ สำเร็จรูปเป็น ปญฺญายึสุ [คำว่า ปญฺญายึสุ ตามรูปศัพท์เป็น กัมมวาจก แปลว่า อันชน ท. รู้ทั่วแล้ว แต่นิยมแปลเอาความเป็นกัตตุวาจกว่า ปรากฏแล้ว]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาวิมุตฺติ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ปัญญาวิมุตติ แจกเหมือน รตฺติ เช่น ทุ.เอก. ปญฺญาวิมุตฺตึ ซึ่งปัญญาวิมุตติ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาวุธ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อาวุธคือปัญญา แจกเหมือน กุล เช่น ต.เอก. ปญฺญาวุเธน ด้วยอาวุธคือปัญญา เป็นอวธารณบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า ปญฺญา เอว อาวุธํ = ปญฺญาวุธํ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาสมฺปทา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ความถึงพร้อมแห่งปัญญา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ต.เอก. ปญฺญา-สมฺปทาย ด้วยความถึงพร้อมแห่งปัญญา เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ปญฺญาย สมฺปทา = ปญฺญาสมฺปทา

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาสมฺปนฺน-->> คำแปล --->>ว. ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปัญญา ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ปญฺญาสมฺปนฺโน (เถโร) อ. พระเถระ ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปัญญา เป็น ตติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ปญฺญาย สมฺปนฺโน = ปญฺญาสมฺปนฺโน (เถโร)

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาสสฏฺิโยชนานิ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. สิ้นโยชน์ห้าสิบและโยชน์หกสิบ ท. เป็นอสมาหารทวันทวสมาส มีสมาหารทิคุสมาส และสมาหารทิคุสมาส เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทิคุ.วิ. ปญฺญาสํ โยชนานิ = ปญฺญาสโยชนํ ส.ทิคุ.วิ. สฏฺี โยชนานิ = สฏฺิโยชนํ อ.ทวัน.วิ. ปญฺญาสโยชนญฺจ สฏฺิโยชนญฺจ = ปญฺญาส- สฏฺิโยชนานิ [ลบ โยชน ศัพท์หน้า]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาสโยชน-->> คำแปล --->>๑ ว. มีโยชน์ห้าสิบ อิต. แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. ปญฺญาสโยชนา (ปณฺฑุ- กมฺพลสิลา) อ. บัณฑุกัมพลสิลา อันมีโยชน์ห้าสิบ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่าปญฺญาสํ โยชนานิ ยสฺสา สา ปญฺญาสโยชนา (ปณฺฑุกมฺพลสิลา)

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาสโยชน-->> คำแปล --->>๒ น.,นปุ. โยชน์ห้าสิบ ถ้าเป็นเอกวจนะ เป็นสมาหารทิคุสมาส เช่น ทุ.เอก. ปญฺญาสโยชนํ สิ้นโยชน์ห้าสิบ วิ.ว่า ปญฺญาสํ โยชนานิ = ปญฺญาสโยชนํ แจกเหมือน กุล เฉพาะฝ่ายเอกวจนะ แต่ถ้าเป็นพหุวจนะ เป็น อสมาหารทิคุสมาส เช่น ทุ.พหุ. ปญฺญาสโยชนานิ สิ้นโยชน์ห้าสิบ ท. วิ.ว่า ปญฺญาสํ โยชนานิ = ปญฺญาสโยชนานิ แจกเหมือน กุล เฉพาะฝ่ายพหุวจนะ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาสโยชนฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่มีโยชน์ห้าสิบ แจกเหมือน กุล เช่น ส.พหุ. ปญฺญาสโยชนฏฺาเนสุ ในที่มีโยชน์ห้าสิบ ท. เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. ปญฺญาสํ โยชนานิ เยสํ ตานิ ปญฺญาสโยชนานิ (านานิ) วิ.บุพ.กัม.วิ. ปญฺญาสโยชนานิ านานิ = ปญฺญาสโยชนฏฺานานิ [ซ้อน ฏฺ]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาเปตพฺพ-->> คำแปล --->>ก. อัน…พึงให้ปูลาด ป + ญป ธาตุ ในความปูลาด + เณ ปัจจัย + ตพฺพ ปัจจัยเป็นเหตุกัมมวาจก ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ได้รูปเป็น ปญฺญาเปตพฺพ ดู อชานิตพฺพ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาเปติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ปติปูชิกา อ. นางปติปูชิกา) ย่อมปูลาด ป + ญป ธาตุ ในความปูลาด + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น ปญฺญาเปติ [ธ. ๓: ปติปูชิกาวตฺถุ หน้า ๑๒๖]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาเปตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันให้ปูลาด, เพื่ออันให้ปูลาด ป + ญป ธาตุ ในความปูลาด + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น ปญฺญาเปตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาเปตฺวา-->> คำแปล --->>๑ ก. ปูลาดแล้ว, ตั้งแล้ว, บัญญัติแล้ว ป + ญป ธาตุ ในความปูลาด + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น ปญฺญาเปตฺวา

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาเปตฺวา-->> คำแปล --->>๒ ก. ยัง…ให้ปูลาดแล้ว ป + ญป ธาตุ ในความปูลาด + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น ปญฺญาเปตฺวา

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาเปถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) ยัง...จงให้ปูลาด ป + ญป ธาตุ ในความปูลาด + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ถ ปัญจมีวิภัตติ ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น ปญฺญาเปถ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาเปสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ครหทินฺโน อ. ครหทิน) ยัง...ให้ปูลาดแล้ว ป + ญป ธาตุ ในความปูลาด + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น ปญฺญาเปสิ [ธ. ๓ : ครหทินฺนวตฺถุ หน้า ๙๖]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาเปสุ-->> คำแปล --->>๑ ก. (เช่น ชนา อ. ชน ท.) จัดแจงแล้ว ป + ญป ธาตุ ในความจัดแจง + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม สำเร็จรูปเป็น ปญฺญาเปสุ [ธ. ๔: ปญฺจสตภิกฺขุ- หน้า ๓๑]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาเปสุ-->> คำแปล --->>๒ ก. (เช่น มนุสฺสา อ. มนุษย์ ท.) ปูลาดแล้ว ป + ญป ธาตุ ในความปูลาด + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม สำเร็จรูปเป็น ปญฺญาเปสุ [ธ. ๓ : ปาฏิกาชีวก- หน้า ๓๙ ]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาเปสุ-->> คำแปล --->>๓ ก. (เช่น ตาปสา อ. ดาบส ท.) ยัง...ให้ปูลาดแล้ว ป + ญป ธาตุ ในความปูลาด + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม สำเร็จรูปเป็น ปญฺญาเปสุ [ธ. ๑: สญฺชยวตฺถุ หน้า ๙๘]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺญาเปสฺสาม-->> คำแปล --->>ก. (มยํ อ. เรา ท.) จัก…ให้ปูลาด ป + ญป ธาตุ ในความปูลาด + เณ ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก + สฺสาม ภวิสสันติวิภัตติ ซ้อน ญฺ หน้าธาตุ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น ปญฺญาเปสฺสาม


คำศัทพ์