ศัพท์บาลี --->>ปญฺจ-->> คำแปล --->>ว. ห้า เป็นศัพท์ต้นแบบในการแจกปกติสังขยา ตั้งแต่ ฉ (๖) ถึง อฏฺารส (๑๘) เป็นได้ทั้ง ๓ ลิงค์ เป็นพหุวจนะ ปุ. เช่น ป. ปญฺจ (ชนา) อ. ชน ท. ห้า อิต. เช่น ป. ปญฺจ (อิตฺถิโย) อ. หญิง ท. ห้า น.ปุ. เช่น ป. ปญฺจ (กุลานิ) อ. ตระกูล ท. ห้า

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจกลฺยาณสมนฺนาคตา-->> คำแปล --->>ว.,อิต. (อิตฺถิโย) อ. หญิง ท. ผู้มาตามพร้อมแล้วด้วยความงามห้า เป็นตติยาตัปปุริสสมาส มีอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ กลฺยาณานิ = ปญฺจกลฺยาณานิ ต.ตัป.วิ. ปญฺจกลฺยาเณหิ สมนฺนาคตา = ปญฺจกลฺยาณสมนฺนาคตา (อิตฺถิโย) ปญฺจกลฺยาณานิ = ความงาม ๕ ประการ ภาษาไทยเรียกว่า เบญจกัลยาณี หมายถึง หญิงผู้มี ความงาม ๕ ประการ คือ ๑. เกสกลฺยาณํ = ผมงาม ๒. มํสกลฺยาณํ = เนื้องาม ๓. อฏฺิ กลฺยาณํ = ฟันงาม ๔. ฉวิกลฺยาณํ = ผิวงาม ๕. วยกลฺยาณํ = วัยงาม

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจกามคุณเสวี-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้เสพซึ่งกามคุณห้าโดย ปกติ แจกเหมือน เสฏฺ เช่น ฉ.เอก. ปญฺจกาม- คุณเสวิโน (ปุคฺคลสฺส) ของบุคคล ผู้เสพซึ่งกามคุณห้าโดยปกติ มาจาก ปญฺจกามคุณ + เสว ธาตุ ในความเสพ + ณี ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ อี ได้รูปเป็น ปญฺจกามคุณเสวี แปลว่า ผู้เสพซึ่ง กามคุณห้าโดยปกติ เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ ลงในอรรถแห่งตัสสีละ วิ.ว่า ปญฺจกามคุเณ เสวติ สีเลนาติ ปญฺจกามคุณเสวี (ปุคฺคโล) บุคคลใด ย่อมเสพ ซึ่งกามคุณห้า ท. โดยปกติ เหตุนั้น บุคคลนั้น ชื่อว่า ปญฺจกามคุณเสวีๆ ผู้เสพซึ่งกามคุณห้าโดยปกติ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจงฺคิกตุริยสทฺทสมฺมิสฺโส-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (ทิพฺพคีต- สทฺโท) อ. เสียงแห่งเพลงขับอันเป็นทิพย์ อันเจือด้วยเสียงแห่งดนตรีอันประกอบแล้วด้วยองค์ห้า เป็นตติยาตัปปุริสสมาส มีอสมาหารทิคุ สมาส ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต วิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส และฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ องฺคานิ = ปญฺจงฺคานิ ณิก.ตรตฺยา.วิ. ปญฺจงฺเคหิ นิยุตฺตํ = ปญฺจงฺคิกํ (ตุริยํ) วิ.บุพ.กัม.วิ. ปญฺจงฺคิกํ ตุริยํ = ปญฺจงฺคิกตุริยํ ฉ.ตัป.วิ. ปญฺจงฺคิกตุริยสฺส สทฺโท = ปญฺจงฺคิกตุริยสทฺโท ต.ตัป.วิ. ปญฺจงฺคิกตุริยสทฺเทน สมฺมิสฺโส = ปญฺจงฺคิกตุริยสทฺทสมฺมิสฺโส (ทิพฺพคีตสทฺโท) แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจงฺคิกตุริยโฆโส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อ. เสียงกึกก้องแห่ง ดนตรีอันประกอบแล้วด้วยองค์ห้า เป็นฉัฏฐี ตัปปุริสสมาส มีอสมาหารทิคุสมาส ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต ใช้แทน นิยุตฺต และวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ องฺคานิ = ปญฺจงฺคานิ ณิก.ตรตฺยา.วิ. ปญฺจงฺเคหิ นิยุตฺตํ = ปญฺจงฺคิกํ (ตุริยํ) วิ.บุพ.กัม.วิ. ปญฺจงฺคิกํ ตุริยํ = ปญฺจงฺคิกตุริยํ ฉ.ตัป.วิ. ปญฺจงฺคิกตุริยสฺส โฆโส = ปญฺจงฺคิกตุริยโฆโส แจกเหมือน ปุริส ดนตรีมีองค์ ๕ ได้แก่ ๑. อาตตะ = กลอง ๒. วิตตะ = ตะโพน ๓. อาตตวิตตะ = บัณเฑาะว์ ๔. ฆนะ กรับหรือทับ ๕. สุสิระ = เครื่องเป่ามีปี่ และขลุ่ยเป็นต้น

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจจตฺตาฬีสโยชนมตฺถก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ที่สุดแห่งโยชน์ สี่สิบห้า แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. ปญฺจ- จตฺตาฬีสโยชนมตฺถเก ในที่สุดแห่งโยชน์สี่สิบห้า เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจจตฺตาฬีสํ โยชนานิ = ปญฺจจตฺตาฬีส โยชนานิ ฉ.ตัป.วิ. ปญฺจจตฺตาฬีสโยชนานํ มตฺถโก = ปญฺจจตฺตาฬีสโยชนมตฺถโก

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจปญฺจมาณวสตปริวารา-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (ชนา) อ. ชน ท. ผู้มีร้อยแห่งมาณพห้าและร้อยแห่งมาณพห้า เป็นบริวาร เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส อสมาหารทิคุสมาส ฉัฏฐี ตัปปุริสสมาส อสมาหารทิคุสมาส และอสมาหาร ทวันทวสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. มาณวานํ สตานิ = มาณวสตานิ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ มาณวสตานิ = ปญฺจมาณวสตานิ ฉ.ตัป.วิ. มาณวานํ สตานิ = มาณวสตานิ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ มาณวสตานิ = ปญฺจมาณวสตานิ อ.ทวัน.วิ. ปญฺจมาณวสตานิ จ ปญฺจมาณว สตานิ จ = ปญฺจปญฺจมาณวสตานิ ร้อยแห่ง มาณพห้าและร้อยแห่งมาณพห้า ท. [ลบ มาณวสต ศัพท์หน้า เหลือไว้แต่ ปญฺจ] ฉ.ตุล.วิ. ปญฺจปญฺจ มาณวสตานิ ปริวารานิ เยสํ เต ปญฺจปญฺจ มาณวสตปริวารา (ชนา)

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจปญฺญาส-->> คำแปล --->>ว.,อิต. ห้าสิบห้า เป็นเอกวจนะ แจกเหมือน เอกูนวีส เป็นวิเสสนะของนามที่เป็น พหุวจนะได้ทั้ง ๓ ลิงค์ ปุ. เช่น ป. ปญฺจปญฺญาสํ (ชนา) อ. ชน ท. ห้าสิบห้า อิต. เช่น ป. ปญฺจ- ปญฺญาสํ (อิตฺถิโย) อ. หญิง ท. ห้าสิบห้า นปุ. เช่น ป. ปญฺจปญฺญาสํ (วตฺถูนิ) อ. เรื่อง ท. ห้าสิบห้า

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจปณฺณาส-->> คำแปล --->>ว.,อิต. ห้าสิบห้า เป็นเอกวจนะ แจกเหมือน เอกูนวีส เป็นวิเสสนะของนามที่เป็น พหุวจนะได้ทั้ง ๓ ลิงค์ ปุ. เช่น ป. ปญฺจปณฺณาสํ (ชนา) อ. ชน ท. ห้าสิบห้า อิต. เช่น ป. ปญฺจปณฺณาสํ (อิตฺถิโย) อ. หญิง ท. ห้าสิบห้า นปุ. เช่น ป. ปญฺจปณฺณาสํ (วตฺถูนิ) อ. เรื่อง ท. ห้าสิบห้า

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจปณฺณาสวสฺสานิ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. สิ้นปีห้าสิบห้า ท. เป็นอสมาหารทิคุสมาส วิ.ว่า ปญฺจปณฺณาสํ วสฺสานิ = ปญฺจปณฺณาสวสฺสานิ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจปติฏฺิต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. การตั้งไว้เฉพาะซึ่งองค์ห้า ปญฺจ (องฺค) + ปติ + า ธาตุ ในความตั้งอยู่ + ต ปัจจัยในนามกิตก์ (นอกแบบ) แปลง อา ที่ า ธาตุ เป็น อิ ได้รูปเป็น ปญฺจปติฏฺิต แปลว่า การตั้งไว้เฉพาะซึ่งองค์ห้า เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า ปญฺจปติฏฺานํํ = ปญฺจปติฏฺตํ [ซ้อน ปฺ เป็น ปญฺจปฺปติฏฺเตน ก็มี] เป็น ทุติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ปญฺจ (องฺคานิ) ปติฏฺิตํ = ปญฺจปติฏฺิตํ, ปญฺจปฺปติฏฺิตํ ; การตั้งไว้เฉพาะซึ่งองค์ห้า, เบญจางคประดิษฐ์ หมายถึง การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ คือ การกราบด้วยการตั้งไว้เฉพาะซึ่งองค์ ๕ ได้แก่ หัวเข่า ๒ ฝ่ามือ ๒ และหน้าผาก ๑ เวลากราบ สำหรับผู้ชาย นิยมให้ข้อศอกทั้ง ๒ ต่อกับหัวเข่า ทั้ง ๒ สำหรับผู้หญิง นิยมให้ข้อศอกทั้ง ๒ อยู่ ข้างตัวแนบชิดกับขาพับทั้ง ๒ นิ้วมือทั้งห้าแนบ ชิดสนิทกัน วางฝ่ามือทั้งสองลงกราบกับพื้นให้ มือทั้งสองแยกออกห่างกันประมาณ ๔ นิ้ว ก้มศีรษะให้หน้าผากจรดกับพื้นในระหว่างมือ ทั้งสอง

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจภิกฺขุสตานิ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ซึ่งร้อยแห่งภิกษุห้า ท. เป็นอสมาหารทิคุสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. ภิกฺขูนํ สตานิ = ภิกฺขุสตานิ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ ภิกฺขุสตานิ = ปญฺจภิกฺขุสตานิ แจกเหมือน กุล เฉพาะฝ่ายพหุวจนะ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจม-->> คำแปล --->>ว. ที่ห้า มาจาก ปญฺจ + ม ปัจจัยในเสฏตัทธิต ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ปญฺจโม (ทิวโส) อ. วัน ที่ห้า วิ.ว่า ปญฺจนฺนํ (ทิวสานํ) ปูรโณ = ปญฺจโม (ทิวโส) อิต. ลง อี เครื่องหมายอิตถีลิงค์ เป็น ปญฺจมี แจกเหมือน นารี เช่น ส.เอก. ปญฺจมิยํ (ติถิยํ) ในดิถี ที่ห้า วิ.ว่า ปญฺจนฺนํ (ติถีนํ) ปูรณี = ปญฺจมี (ติถิ) นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. ปญฺจมํ (วตฺถุ) อ. เรื่อง ที่ห้า วิ.ว่า ปญฺจนฺนํ (วตฺถูนํ) ปูรณํ = ปญฺจมํ (วตฺถุ)

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจมตฺต-->> คำแปล --->>ว. มีประมาณห้า นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.พหุ. ปญฺจมตฺตานิ (ภิกฺขุสตานิ) อ. ร้อยแห่งภิกษุ ท. มีประมาณห้า เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า ปญฺจ มตฺตานิ เยสํ ตานิ ปญฺจมตฺตานิ (ภิกฺขุสตานิ) ประมาณ ท. ของร้อยแห่งภิกษุ ท. เหล่าใด ห้า ร้อยแห่งภิกษุ ท. เหล่านั้น ชื่อว่ามีประมาณห้า

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจมหานิธิ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ขุมทรัพย์ใหญ่ห้า เป็นสมาหารทิคุสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. มหนฺตา นิธโย = มหานิธโย ส.ทิคุ.วิ. ปญฺจ มหานิธโย = ปญฺจมหานิธิ แจกเหมือน อกฺขิ เฉพาะฝ่ายเอกวจนะ [สมาหารทิคุสมาส เมื่อเข้าสมาส ต้องเป็นนปุงสกลิงค์ เอกวจนะเท่านั้น]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจมาณวกสต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ร้อยแห่งมาณพห้า แจก เหมือน กุล เช่น ทุ.พหุ. ปญฺจมาณวกสตานิ ซึ่งร้อยแห่งมาณพห้า ท. เป็นสมาหารทิคุสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. มาณวกานํ สตานิ = มาณวกสตานิ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ มาณวกสตานิ = ปญฺจมาณวกสตานิ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจมาสกมตฺต-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (ทรัพย์) อันมีมาสกห้า เป็นประมาณ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. ปญฺจมาสกมตฺตํ (ธนํ) อ. ทรัพย์ อันมีมาสกห้า เป็นประมาณ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทิคุ.วิ. ปญฺจ มาสกา = ปญฺจมาสกํ ฉ.ตุล.วิ. ปญฺจมาสกํ มตฺตํ ยสฺส ตํ ปญฺจมาสกมตฺตํ (ธนํ)

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจมาสจฺจย-->> คำแปล --->>น.,ปุ. การล่วงไปแห่งเดือนห้า แจก เหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. ปญฺจมาสจฺจเยน โดย การล่วงไปแห่งเดือนห้า เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ มาสา = ปญฺจมาสา ฉ.ตัป.วิ. ปญฺจมาสานํ อจฺจโย = ปญฺจมาสจฺจโย

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจวคฺคิย-->> คำแปล --->>๑ น.,ปุ. ปัญจวัคคีย์ แจกเหมือน ปุริส เช่น ฉ.พหุ. ปญฺจวคฺคิยานํ แห่งปัญจวัคคีย์ ท. ; พระปัญจวัคคีย์ คือพระที่นับเนื่องด้วยพวก ๕ ประกอบด้วย ๑. โกณฑัญญะ ๒. วัปปะ ๓. ภัททิยะ ๔. มหานามะ ๕. อัสสชิ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจวคฺคิย-->> คำแปล --->>๒ ว.,ปุ. (ภิกษุ) ผู้นับเนื่องด้วยพวกห้า ลง อิย ปัจจัย ในชาตาทิตัทธิต ใช้แทน ปฏิพทฺธ มีอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ วคฺคา = ปญฺจวคฺคา พวกห้า อิย.ชาตา.วิ. ปญฺจวคฺเคหิ ปฏิพทฺธา = ปญฺจวคฺคิยา (ภิกฺขู) ภิกษุ ท. ผู้นับเนื่องแล้ว ด้วยพวกห้า ท. ชื่อว่า ปญฺจวคฺคิยาๆ ผู้นับเนื่องด้วยพวกห้า

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจวณฺณ-->> คำแปล --->>ว. มีวรรณะห้า, มีสีห้า เป็นฉัฏฐีตุลยา ธิกรณพหุพพิหิสมาส อิต. ลง อา เครื่องหมายอิตถีลิงค์ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ต.เอก. ปญฺจวณฺณาย (ปีติยา) อันปีติ อันมีวรรณะห้า วิ.ว่า ปญฺจ วณฺณา ยสฺสา สา ปญฺจวณฺณา (ปีติ) วรรณะ ท. ของปีติใด ห้า ปีตินั้น ชื่อว่ามี วรรณะห้า นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. ปญฺจวณฺณํ (ปุปฺผวสฺสํ) ยังฝนอันเป็นวิการแห่งดอกไม้ อันมีสีห้า วิ.ว่า ปญฺจ วณฺณา ยสฺส ตํ ปญฺจวณฺณํ (ปุปฺผวสฺสํ) สี ท. ของฝนอันเป็นวิการแห่งดอกไม้ใด ห้า ฝนอันเป็นวิการแห่งดอกไม้นั้น ชื่อว่ามีสีห้า

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจวณฺณกุสุมวสฺสํ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. ฝนอันเป็นวิการแห่งดอกไม้อันมีสีห้า เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส และฉัฏฐีตุลยา ธิกรณพหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตาม ลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. กุสุมานํ วสฺสํ = กุสุมวสฺสํ ฉ.ตุล.วิ. ปญฺจ วณฺณา ยสฺส ตํ ปญฺจวณฺณํ (กุสุมวสฺสํ) วิ.บุพ.กัม.วิ. ปญฺจวณฺณํ กุสุมวสฺสํ = ปญฺจวณฺณกุสุมวสฺสํ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจวสฺส-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีกาลฝนห้า ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ปญฺจวสฺโส (ภิกฺขุ) อ. ภิกษุ ผู้มีกาลฝนห้า เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า ปญฺจ วสฺสานิ ยสฺส โส ปญฺจวสฺโส (ภิกฺขุ) กาลฝน ท. ของภิกษุใด ห้า ภิกษุนั้น ชื่อว่าผู้มีกาลฝนห้า

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจวิธ-->> คำแปล --->>ว. มีอย่างห้า เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพ พิหิสมาส อิต. ลง อา เครื่องหมายอิตถีลิงค์ แจก เหมือน กญฺญา เช่น ทุ.เอก. ปญฺจวิธํ (ปีตึ) ซึ่ง ปีติ อันมีอย่างห้า วิ.ว่า ปญฺจ วิธา ยสฺสา สา ปญฺจวิธา (ปีติ) อย่าง ท. ของปีติใด ห้า ปีตินั้น ชื่อว่ามีอย่างห้า ; ปีติ ๕ อย่าง ได้แก่ ๑. ขุททกาปีติ = ปีติ เล็กน้อย ๒. ขณิกาปีติ = ปีติชั่วขณะ ๓. โอกกัน ติกาปีติ = ปีติเป็นพักๆ ๔. อุพเพงคาปีติ = ปีติอย่างโลดโผน ๕. ผรณาปีติ = ปีติซาบซ่าน

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจวีสติ-->> คำแปล --->>ว.,อิต. ยี่สิบห้า แจกเหมือน รตฺติ เฉพาะ ฝ่ายเอกวจนะ เป็นวิเสสนะของนามฝ่ายพหุวจนะ ได้ทั้ง ๓ ลิงค์ ปุ. เช่น ป. ปญฺจวีสติ (ปุริสา) อ. บุรุษ ท. ยี่สิบห้า อิต. เช่น ป. ปญฺจวีสติ (อิตฺถิโย) อ. หญิง ท. ยี่สิบห้า นปุ. เช่น ป. ปญฺจวีสติ (วตฺถูนิ) อ. เรื่อง ท. ยี่สิบห้า

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจวีสติโยชน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. โยชน์ยี่สิบห้า ถ้าเป็นเอกวจนะ เป็นสมาหารทิคุสมาส เช่น ทุ.เอก. ปญฺจวีสติโยชนํ สิ้นโยชน์ยี่สิบห้า วิ.ว่า ปญฺจ-วีสติ โยชนานิ = ปญฺจวีสติโยชนํ แต่ถ้าเป็น พหุวจนะ เป็นอสมาหารทิคุสมาส เช่น ทุ.พหุ. ปญฺจวีสติโยชนานิ สิ้นโยชน์ยี่สิบห้า ท. วิ.ว่า ปญฺจวีสติ โยชนานิ = ปญฺจวีสติโยชนานิ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจวีสติโยชนิก-->> คำแปล --->>ว. ประกอบแล้วด้วยโยชน์ ยี่สิบห้า ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ปญฺจ- วีสติโยชนิโก (อตฺตภาโว) อ. อัตภาพ อันประกอบ แล้วด้วยโยชน์ยี่สิบห้า ลง ณิก ปัจจัย ในตรตฺยา ทิตัทธิต ใช้แทน นิยุตฺต มีอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจวีสติ โยชนานิ = ปญฺจวีสติโยชนานิ ณิก.ตรตฺยา.วิ. ปญฺจวีสติโยชเนหิ นิยุตฺโต = ปญฺจวีสติโยชนิโก (อตฺตภาโว)

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจสตกฺขตฺตุ-->> คำแปล --->>นิ. สิ้นร้อยห้าครั้ง เป็นนิบาตมีเนื้อความต่างๆ เช่น เถโร … ปญฺจสตกฺขตฺตุ ลภิ อ. พระเถระ ได้แล้ว … สิ้นร้อยห้าครั้ง [ธ. ๒: สามาวตีวตฺถุ หน้า ๕๖]

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจสตคฺฆนิกานิ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (วตฺถานิ) ซึ่งผ้า ท. มีค่ามีร้อยห้า ลง อิก ปัจจัย ในตทัสสัตถิตัทธิต มีฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส และวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. ปญฺจ สตานิ ยสฺส ตํ ปญฺจสตํ (อคฺฆนํ) วิ.บุพ.กัม.วิ. ปญฺจสตํ อคฺฆนกํ = ปญฺจสตคฺฆนํ ค่ามีร้อยห้า อิก.ตทัส.วิ. ปญฺจสตคฺฆนํ เตสํ อตฺถีติ ปญฺจสตคฺฆนิกานิ (วตฺถานิ) ค่ามีร้อยห้า ของผ้า ท. เหล่านั้น มีอยู่ เหตุนั้น ผ้า ท. เหล่านั้น ชื่อว่ามีค่ามีร้อยห้า แจก เหมือน กุล

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจสตปญฺจสตปริวารา-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (ภิกฺขู) อ. ภิกษุ ท. มีร้อยแห่งภิกษุห้าและร้อยแห่งภิกษุห้าเป็น บริวาร เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส อสมาหารทิคุสมาส ฉัฏฐี ตัปปุริสสมาส อสมาหารทิคุสมาส และอสมาหาร ทวันทวสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. ภิกฺขูนํ สตานิ = ภิกฺขุสตานิ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ ภิกฺขุสตานิ = ปญฺจสตานิ [ลบ ภิกฺขุ ในท่ามกลาง] ฉ.ตัป.วิ. ภิกฺขูนํ สตานิ = ภิกฺขุสตานิ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ ภิกฺขุสตานิ = ปญฺจ สตานิ [ลบ ภิกฺขุ ในท่ามกลาง] อ.ทวัน.วิ. ปญฺจ สตานิ จ ปญฺจสตานิ จ = ปญฺจสตปญฺจสตานิ ฉ.ตุล.วิ. ปญฺจสตปญฺจสตานิ ปริวารานิ เยสํ เต ปญฺจสตปญฺจสตปริวารา (ภิกฺขู) ร้อยแห่ง ภิกษุห้าและร้อยแห่งภิกษุห้า ท. เป็นบริวาร ของ ภิกษุ ท. เหล่าใด ภิกษุ ท. เหล่านั้น ชื่อว่ามีร้อย แห่งภิกษุห้าและร้อยแห่งภิกษุห้าเป็นบริวาร แจก เหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจสตภาค-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ส่วนมีร้อยห้า แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. ปญฺจสตภาเคน โดยส่วนมีร้อยห้า เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. ปญฺจ สตานิ ยสฺส โส ปญฺจสโต (ภาโค) ร้อย ท. ของส่วนใด ห้า ส่วนนั้น ชื่อว่ามีร้อยห้า วิ.บุพ.กัม.วิ. ปญฺจสโต ภาโค = ปญฺจสตภาโค ส่วนมีร้อยห้า

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจสตภิกฺขุปริวาโร-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (สตฺถา) อ. พระศาสดา ผู้มีภิกษุมีร้อยห้าเป็นบริวาร เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส และวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. ปญฺจ สตานิ เยสํ เต ปญฺจสตา (ภิกฺขู) วิ.บุพ.กัม.วิ. ปญฺจสตา ภิกฺขู = ปญฺจสตภิกฺขู ฉ.ตุล.วิ. ปญฺจสตภิกฺขู ปริวารา ยสฺส โส ปญฺจสตภิกฺขุ-ปริวาโร (สตฺถา) แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจสตภิกฺขุวตฺถุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งภิกษุผู้มีร้อยห้า เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตุลยา ธิกรณพหุพพิหิสมาส และวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. ปญฺจ สตานิ เยสํ เต ปญฺจสตา (ภิกฺขู) วิ.บุพ.กัม.วิ. ปญฺจสตา ภิกฺขู = ปญฺจสตภิกฺขู ฉ.ตัป.วิ. ปญฺจสตภิกฺขูนํ วตฺถุ = ปญฺจสตภิกฺขุวตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจสตมตฺตา-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (ชนา) อ. ชน ท. ผู้มีร้อยห้า เป็นประมาณ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ สตานิ = ปญฺจ- สตานิ ฉ.ตุล.วิ. ปญฺจสตานิ มตฺตานิ เยสํ เต ปญฺจสตมตฺตา (ชนา) ร้อยห้า ท. เป็นประมาณ ของชน ท. เหล่าใด ชน ท. เหล่านั้น ชื่อว่าผู้มี ร้อยห้าเป็นประมาณ แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจสตมาตุคาม-->> คำแปล --->>น.,ปุ. มาตุคามผู้มีร้อยห้า เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีฉัฏฐีตุลยา ธิกรณพหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. ปญฺจ สตานิ ยสฺส โส ปญฺจสโต (มาตุคาโม) วิ.บุพ.กัม.วิ. ปญฺจสโต มาตุคาโม = ปญฺจสตมาตุคาโม แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจสตา-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (ภิกฺขู) อ. ภิกษุ ท. ผู้มีร้อยห้า เป็น ฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า ปญฺจ สตานิ เยสํ เต ปญฺจสตา (ภิกฺขู) ร้อย ท. ของภิกษุ ท. เหล่าใด ห้า ภิกษุ ท. เหล่านั้น ชื่อว่าผู้มีร้อยห้า แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจสตานิ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ซึ่งร้อยแห่งทรัพย์ห้า ท. เป็นอสมาหารทิคุสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. ธนานํ สตานิ = ธนสตานิ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ ธนสตานิ = ปญฺจสตานิ [ลบ ธน ในท่ามกลาง] แจกเหมือน กุล เฉพาะฝ่ายพหุวจนะ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจหตฺถิถามธรา-->> คำแปล --->>ว.,อิต. (วิสาขา) อ. นางวิสาขา ผู้ทรงไว้ซึ่งเรี่ยวแรงของช้างห้า เป็นทุติยาตัปปุริสสมาส มีอสมาหารทิคุสมาส และฉัฏฐีตัปปุริส สมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ หตฺถี = ปญฺจหตฺถี ช้างห้า ท. ฉ.ตัป.วิ. ปญฺจหตฺถีนํ ถาโม = ปญฺจหตฺถิถาโม เรี่ยวแรงของช้างห้า ทุ.ตัป.วิ. ปญฺจหตฺถิถามํ ธรา = ปญฺจหตฺถิถามธรา (วิสาขา)

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจินฺทฺริยานิ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ซึ่งอินทรีย์ห้า ท. แจกเหมือน กุล เฉพาะฝ่ายพหุวจนะ เป็นอสมาหาร ทวันทวสมาส วิ.ว่า ปญฺจ อินฺทฺริยานิ = ปญฺจินฺทฺริยานิ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจโกฏิมตฺต-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีโกฏิห้าเป็นประมาณ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. ปญฺจโกฏิมตฺตา (มนุสฺสา) อ. มนุษย์ ท. ผู้มีโกฏิห้าเป็นประมาณ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีอสมาหาร ทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ โกฏิโย = ปญฺจโกฏิโย โกฏิห้า ท. ฉ.ตุล.วิ. ปญฺจโกฏิโย มตฺตา เยสํ เต ปญฺจโกฏิมตฺตา (มนุสฺสา) โกฏิห้า ท. เป็นประมาณ ของมนุษย์ ท. เหล่าใด มนุษย์ ท. เหล่านั้น ชื่อว่าผู้มีโกฏิห้าเป็นประมาณ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจโครส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. รสอันเกิดแล้วแต่โคห้า แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.พหุ. ปญฺจโครเส ซึ่งรสอันเกิดแล้วแต่โคห้า ท. เป็นอสมาหารทิคุสมาส มีปัญจมีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ปัญจ.ตัป.วิ. โคหิ (ชาตา) รสา = โครสา อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ โครสา = ปญฺจโครสา ; ปัญจโครส = รส (นํ้า) ที่เกิดจากโค ๕ อย่าง คือ ๑. ขีระ = นมสด ๒. ทธิ = นมส้ม ๓. ตักกะ = เปรียง ๔. นวนีต = เนยข้น ๕. สัปปิ = เนยใส

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจโครสทาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. การถวายซึ่งรสแห่งโคห้า แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. ปญฺจโครสทานํ อ. การถวายซึ่งรสแห่งโคห้า เป็นฉัฏฐีตัปปุริส สมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส และอสมาหาร ทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. คุนฺนํ รสา = โครสา รสแห่งโค ท. อ.ทิคุ. วิ. ปญฺจ โครสา = ปญฺจโครสา รสแห่งโคห้า ท. ฉ.ตัป.วิ. ปญฺจโครสานํ ทานํ = ปญฺจโครสทานํ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจโครสทาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ทานคือรสอันเกิดแล้วแต่โคห้า แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. ปญฺจโค-รสทานํ ซึ่งทานคือรสอันเกิดแล้วแต่โคห้า เป็นอวธารณบุพพบท กัมมธารยสมาส มีปัญจมีตัปปุริสสมาส และสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ปัญจ.ตัป.วิ. โคหิ (ชาตา) รสา = โครสา ส.ทิคุ.วิ. ปญฺจ โครสา = ปญฺจโครสํ อว.บุพ.กัม.วิ. ปญฺจโครสํ เอว ทานํ = ปญฺจโครสทานํ

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจโยชนมตฺถก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ที่สุดแห่งโยชน์ห้า แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. ปญฺจโยชนมตฺถเก ในที่สุดแห่งโยชน์ห้า เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ โยชนานิ = ปญฺจโยชนานิ ฉ.ตัป.วิ. ปญฺจโยชนานํ มตฺถโก = ปญฺจโยชนมตฺถโก

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจโยชนสติก-->> คำแปล --->>ว. อันประกอบแล้วด้วยร้อยแห่ง โยชน์ห้า อิต. ลง อา เครื่องหมายอิตถีลิงค์ แจก เหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. ปญฺจโยชนสติกา (เทวสภา) อ. เทวสภา อันประกอบแล้วด้วยร้อย แห่งโยชน์ห้า ลง ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต ใช้ แทน นิยุตฺตา มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส และอสมาหาร ทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. โยชนานํ สตานิ = โยชนสตานิ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ โยชนสตานิ = ปญฺจโยชนสตานิ ณิก. ตรตฺยา.วิ. ปญฺจโยชนสเตหิ นิยุตฺตา = ปญฺจโยชนสติกา (เทวสภา)

ศัพท์บาลี --->>ปญฺจโยชนิก-->> คำแปล --->>ว. ประกอบแล้วด้วยโยชน์ห้า อิต. ลง อา เครื่องหมายอิตถีลิงค์ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. ปญฺจโยชนิกา (ชิวฺหา) อ. ลิ้น ประกอบ แล้วด้วยโยชน์ห้า ลง ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต มีอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ โยชนานิ = ปญฺจโยชนานิ ณิก.ตรตฺยา.วิ. ปญฺจโยชเนหิ นิยุตฺตา = ปญฺจโยชนิกา (ชิวฺหา)


คำศัทพ์