มีข้อมูลที่ใกล้เคียงคือ

ศัพท์บาลี --->>ธช-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ธง แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธโช อ. ธง

ศัพท์บาลี --->>ธชปฏาก-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ธงชัยและธงแผ่นผ้า แจก เหมือน กุล ถ้าเป็นเอกวจนะ เช่น ทุ.เอก. ธชปฏากํ ซึ่งธงชัยและธงแผ่นผ้า เป็นสมาหาร ทวันทวสมาส วิ.ว่า ธโช จ ปฏากญฺจ = ธชปฏากํ

ศัพท์บาลี --->>ธชปตากกทลิโย-->> คำแปล --->>น.,อิต. ซึ่งธงชัยและธงแผ่นผ้า และต้นกล้วย ท. เป็นอสมาหารทวันทวสมาส วิ.ว่า ธโช จ ปตากญฺจ กทลิ จ = ธชปตากกทลิโย แจกเหมือน รตฺติ เฉพาะฝ่ายพหุวจนะ

ศัพท์บาลี --->>ธญฺญ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ข้าวเปลือก แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. ธญฺญ อ. ข้าวเปลือก

ศัพท์บาลี --->>ธน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ทรัพย์ แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. ธนํ อ. ทรัพย์ [ข้อสังเกต ธน โดยกำเนิดเป็นนปุงสก ลิงค์ แต่ในธรรมบทภาค ๓ สุปปพุทธกุฏฐิ หน้า ๑๒๙ ได้จัดโดยสมมติให้เป็นอิตถีลิงค์ เป็น เอตา ธนา = อ. ทรัพย์ ท. เหล่านั่น]

ศัพท์บาลี --->>ธนการณ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. เหตุแห่งทรัพย์ แจกเหมือน กุล เช่น ปญฺ.เอก. ธนการณา เพราะเหตุแห่ง ทรัพย์ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธนสฺส การณํ = ธนการณํ

ศัพท์บาลี --->>ธนกฺกีตาทโย-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (ทาสา) อ. ทาส ท. มีทาส อันนายซื้อแล้วด้วยทรัพย์เป็นต้น เป็นฉัฏฐี ตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีตติยาตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ต.ตัป.วิ. ธเนน กีตา = ธนกฺกีตา (ทาสา) [ซ้อน กฺ] ฉ.ตุล.วิ. ธนกฺกีตา (ทาสา) อาทโย เยสํ เต ธนกฺกีตาทโย (ทาสา) แจกเหมือน มุนิ

ศัพท์บาลี --->>ธนจฺเฉท-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความขาดไปแห่งทรัพย์ แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธนจฺเฉโท อ. ความ ขาดไปแห่งทรัพย์ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธนสฺส เฉโท = ธนจฺเฉโท [ซ้อน จฺ]

ศัพท์บาลี --->>ธนจฺเฉทภย-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ความกลัวแต่อันขาดไป แห่งทรัพย์ แจกเหมือน กุล เช่น ต.เอก. ธนจฺเฉท ภเยน เพราะความกลัวแต่อันขาดไปแห่งทรัพย์ เป็นปัญจมีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. ธนสฺส เฉโท = ธนจฺเฉโท [ซ้อน จฺ] ปญฺ.เอก. ธนจฺเฉทสฺมา ภยํ = ธนจฺเฉทภยํ

ศัพท์บาลี --->>ธนญฺชยเสฏฺ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เศรษฐีชื่อว่าธนญชัย แจก เหมือน เสฏฺ เช่น ฉ.เอก. ธนญฺชยเสฏฺโน ของเศรษฐีชื่อว่าธนญชัย เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า ธนญฺชโย เสฏฺ = ธนญฺชยเสฏฺ

ศัพท์บาลี --->>ธนฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่แห่งทรัพย์ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. ธนฏฺานํ สู่ที่แห่งทรัพย์ เป็นฉัฏฐี ตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธนสฺส านํ = ธนฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ]

ศัพท์บาลี --->>ธนนิสฺสิต-->> คำแปล --->>ว. ผู้อาศัยแล้วซึ่งทรัพย์ ดู โทสนิสฺสิต

ศัพท์บาลี --->>ธนปาริชุญฺญกาเล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ในกาลแห่งตนมีความ เสื่อมจากทรัพย์ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มี ปัญจมีตัปปุริสสมาส และ ณ ปัจจัย ในตทัสสัตถิ ตัทธิต เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ปัญจ.ตัป.วิ. ธนสฺส ปริชุญฺญ = ธนปริชุญฺญ ความเสื่อมจากทรัพย์ ณ.ตทัส.วิ. ธนปริชุญฺญ อสฺส อตฺถีติ ธนปาริชุญฺโญ (อตฺตา)ความเสื่อม จากทรัพย์ ของตนนั้น มีอยู่ เหตุนั้น ตนนั้น ชื่อว่า มีความเสื่อมจากทรัพย์ [ธน + ปริชุญฺญ + ณ ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นศัพท์ เป็น อา ลบ ณ ได้รูปเป็น ธนปาริชุญฺญ] ฉ.ตัป. วิ. ธนปาริชุญฺญสฺส กาโล = ธนปาริชุญฺญกาโล

ศัพท์บาลี --->>ธนปาล-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ธนบาล (ชื่อของช้าง) แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. ธนปาเล (หตฺถิมฺหิ) ในช้าง ชื่อว่าธนบาล

ศัพท์บาลี --->>ธนราสิ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กองแห่งทรัพย์ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. ธนราสึ ซึ่งกองแห่งทรัพย์ เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธนานํ ราสิ = ธนราสิ

ศัพท์บาลี --->>ธนสาร-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ทรัพย์อันเป็นสาระ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. ธนสารํ ซึ่งทรัพย์อันเป็นสาระ เป็นวิเสสนุตตรบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า ธนํ สารํ = ธนสารํ

ศัพท์บาลี --->>ธนหานิภย-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ความกลัวแต่อันเสื่อมไป แห่งทรัพย์ แจกเหมือน กุล เช่น ต.เอก. ธนหานิภเยน เพราะความกลัวแต่อันเสื่อมไป แห่งทรัพย์ เป็นปัญจมีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัป ปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. ธนสฺส หานิ = ธนหานิ ปัญจ.ตัป.วิ. ธนหานิมฺหา ภยํ = ธนหานิภยํ

ศัพท์บาลี --->>ธนาหรณตฺถ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ประโยชน์แก่อันนำมา ซึ่งทรัพย์ แจกเหมือน ปุริส เช่น จ.เอก. ธนา- หรณตฺถาย เพื่อประโยชน์แก่อันนำมาซึ่งทรัพย์ เป็นจตุตถีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. ธนานํ อาหรณํ = ธนาหรณํ จตุ.ตัป.วิ. ธนาหรณสฺส อตฺโถ = ธนาหรณตฺโถ

ศัพท์บาลี --->>ธนุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ธนู แจกเหมือน วตฺถุ เช่น ทุ.เอก. ธนุ ซึ่งธนู

ศัพท์บาลี --->>ธนเสฏฺิกุล-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ตระกูลแห่งเศรษฐีผู้มีทรัพย์ แจกเหมือน กุล เช่น ฉ.เอก. ธนเสฏฺิกุลสฺส ของตระกูลแห่งเศรษฐีผู้มีทรัพย์ เป็นฉัฏฐีตัปปุริส สมาส มี ณ ปัจจัยในตทัสสัตถิตัทธิต และ วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ณ.ตทัส.วิ. ธนํ อสฺส อตฺถีติ ธโน (เสฏฺี) วิ.บุพ.กัม.วิ. ธโน เสฏฺี = ธนเสฏฺี ฉ.ตัป.วิ. ธนเสฏฺิสฺส กุลํ = ธนเสฏฺิกุลํ

ศัพท์บาลี --->>ธนเสฏฺี-->> คำแปล --->>๑ น.,ปุ. ธนเศรษฐี แจกเหมือน เสฏฺี เช่น ป.เอก. ธนเสฏฺี อ. ธนเศรษฐี

ศัพท์บาลี --->>ธนเสฏฺี-->> คำแปล --->>๒ น.,ปุ. เศรษฐีผู้มีทรัพย์ แจกเหมือน เสฏฺ เช่น ทุ.เอก. ธนเสฏฺึ ซึ่งเศรษฐีผู้มีทรัพย์ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ณ ปัจจัย ในตทัสสัตถิตัทธิต เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตาม ลำดับ ดังนี้ ณ.ตทัส.วิ. ธนํ อสฺส อตฺถีติ ธโน (เสฏฺ) วิ.บุพ.กัม.วิ. ธโน เสฏฺ = ธนเสฏฺ

ศัพท์บาลี --->>ธนโกฏิ-->> คำแปล --->>น.,อิต. โกฏิแห่งทรัพย์ แจกเหมือน รตฺติ เช่น ป.พหุ. ธนโกฏิโย อ. โกฏิแห่งทรัพย์ ท. เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธนานํ โกฏิโย = ธนโกฏิโย

ศัพท์บาลี --->>ธมนิสนฺถตคตฺต-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีตัวสะพรั่งแล้วด้วย เส้นเอ็น ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธมนิสนฺถตคตฺโต (ภิกฺขุ) อ. ภิกษุ ผู้มีตัวสะพรั่ง แล้วด้วยเส้นเอ็น เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารย สมาส มีตติยาตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ต.ตัป.วิ. ธมนีหิ สนฺถตํ = ธมนิสนฺถตํ (คตฺตํ) ฉ.ตุล.วิ. ธมนิสนฺถตํ คตฺตํ ยสฺส โส ธมนิสนฺถตคตฺโต (ภิกฺขุ) [ธมนิ = เส้นเอ็น อิต., คตฺต = ตัว นปุ.]

ศัพท์บาลี --->>ธมฺม-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ธรรม แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธมฺโม อ. ธรรม [ข้อสังเกต. ธมฺม ส่วนมากใช้ ลิงค์โดยสมมติเป็นปุงลิงค์ แต่ในธรรมบทภาค ๔ กาณมาตาวตฺถุ หน้า ๔๓ ใช้โดยกำเนิดเป็น นปุงสกลิงค์ เป็น ธมฺมานิ ซึ่งธรรม ท.]

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมกถา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ธรรมกถา, วาจาเป็นเครื่อง กล่าวซึ่งธรรม แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. ธมฺมกถา อ. ธรรมกถา, อ. วาจาเป็นเครื่องกล่าว ซึ่งธรรม

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมกถาวสาน-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (กาล) อันเป็นที่สุดลงแห่ง ธรรมกถา ดู อนุโมทนาวสาน

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมกถิก-->> คำแปล --->>๑ น.,ปุ. พระธรรมกถึก แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธมฺมกถิโก อ. พระธรรมกถึก

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมกถิก-->> คำแปล --->>๒ ว.,ปุ. ผู้กล่าวซึ่งธรรม ธมฺม + กถ ธาตุ ในความกล่าว + อิก ปัจจัยในนามกิตก์ (นอกแบบ) ได้รูปเป็น ธมฺมกถิก แปลว่า ผู้กล่าว ซึ่งธรรม เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ วิ.ว่า ธมฺมํ กเถตีติ ธมฺมกถิโก (ภิกฺขุ) ภิกษุใด ย่อมกล่าว ซึ่งธรรม เหตุนั้น ภิกษุนั้น ชื่อว่า ธมฺมกถิโกๆ ผู้กล่าวซึ่งธรรม

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมกถิกนิสฺสิตก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นิสิตของพระธรรมกถึก มาจาก ธมฺมกถิก และ นิสฺสิตก

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมคมฺภีรตาปจฺจเวกฺขเณน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ด้วยการ พิจารณาซึ่งความที่แห่งธรรมเป็นสภาพ ลึกซึ้ง แจกเหมือน กุล เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีวิเสสนุตตรบท กัมมธารยสมาส และ ตา ปัจจัย ในภาวตัทธิต เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.นุต.กัม.วิ. ธมฺโม คมฺภีโร = ธมฺมคมฺภีโร ตา.ภาว.วิ. ธมฺมคมฺภีรสฺส ภาโว = ธมฺมคมฺภีรตา ฉ.ตัป.วิ. ธมฺมคมฺภีรตาย ปจฺจเวกฺขณํ = ธมฺมคมฺภีรตาปจฺจเวกฺขณํ

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมครุก-->> คำแปล --->>ว. ผู้หนักในธรรม แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธมฺมครุโก (ภิกฺขุ) อ. ภิกษุ ผู้หนัก ในธรรม เป็นสัตตมีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธมฺเม ครุโก = ธมฺมครุโก (ภิกฺขุ)

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมจกฺก-->> คำแปล --->>น.,นปุ. จักรคือธรรม แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. ธมฺมจกฺกํ ยังจักรคือธรรม เป็น อวธารณบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า ธมฺโม เอว จกฺกํ = ธมฺมจกฺกํ

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมจารี-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้ประพฤติซึ่งธรรมโดยปกติ มาจาก ธมฺม + จร ธาตุ ในความประพฤติ + ณี ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณี ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อี ได้รูปเป็น ธมฺมจารี แปลว่า ผู้ประพฤติซึ่งธรรมโดยปกติ เป็น กัตตุรูป กัตตุสาธนะ ลงในอรรถแห่งตัสสีละ แจกเหมือน เสฏฺ วิ.ว่า ธมฺมํ จรติ สีเลนาติ ธมฺมจารี (ปุคฺคโล) บุคคลใด ย่อมประพฤติ ซึ่ง ธรรม โดยปกติ เหตุนั้น บุคคลนั้น ชื่อว่า ธมฺมจารีๆ ผู้ประพฤติซึ่งธรรมโดยปกติ

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมชีวี-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้เป็นอยู่โดยธรรมโดยปกติ มา จาก ธมฺม+ ชีว ธาตุ ในความเป็นอยู่ + ณี ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ อี ได้รูปเป็น ธมฺมชีวี แปลว่า ผู้เป็นอยู่โดยธรรมโดยปกติ เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ ลงในอรรถแห่งตัสสีละ แจกเหมือน เสฏฺ วิ.ว่า ธมฺเมน ชีวติ สีเลนาติ ธมฺมชีวี (ปุคฺคโล) บุคคลใด ย่อมเป็นอยู่ โดยธรรม โดย ปกติ เหตุนั้น บุคคลนั้น ชื่อว่า ธมฺมชีวีๆ ผู้เป็น อยู่โดยธรรมโดยปกติ

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมฏฺฐ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ชนผู้ตั้งในธรรม, ฯลฯ.

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมฏฺฐ-->> คำแปล --->>วิ. ผู้ตั้งอยู่ในธรรม, ผู้ดำรงอยู่ในธรรม. วิ. ธมฺเม ติฏฺฐตีติ ธมฺมฏฺโฐ. ธมฺม+ฐา+อปัจ.

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมตา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ธรรมดา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ต.เอก. ธมฺมตาย โดยธรรมดา

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมทสฺสี-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ธัมมทัสสี (พระนามของพระ- พุทธเจ้า) แจกเหมือน เสฏฺ เช่น ป.เอก. ธมฺมทสฺสี (พุทฺโธ) อ. พระพุทธเจ้า พระนามว่าธัมมทัสสี

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมนฺเตวาสิก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อันเตวาสิกโดยธรรม แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธมฺมนฺเตวาสิโก อ. อันเตวาสิกโดยธรรม เป็นตติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธมฺเมน อนฺเตวาสิโก = ธมฺมนฺเตวาสิโก

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมปท-->> คำแปล --->>น.,นปุ. บทแห่งธรรม แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. ธมฺมปทํ อ. บทแห่งธรรม เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธมฺมสฺส ปทํ = ธมฺมปทํ

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมปีติ-->> คำแปล --->>๑ ว. ผู้เอิบอิ่มในธรรม มาจาก ธมฺม + ปา ธาตุ ในความดื่ม, ความเอิบอิ่ม + ติ ปัจจัย แปลง อา ที่ ปา ธาตุ เป็น อี ได้รูปเป็น ธมฺมปีติ แปลว่า ผู้เอิมอิ่มในธรรม เป็นกัตตุรูป กัตตุ สาธนะ ปุ. แจกเหมือน มุนิ เช่น ป.เอก. ธมฺมปีติ (ปุคฺคโล) อ. บุคคล ผู้เอิบอิ่มในธรรม วิ.ว่า ธมฺเม ปิวตีติ ธมฺมปีติ (ปุคฺคโล) บุคคลใด ย่อมเอิบอิ่ม ในธรรม เหตุนั้น บุคคลนั้น ชื่อว่า ธมฺมปีติๆ ผู้เอิบอิ่มในธรรม

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมปีติ-->> คำแปล --->>๒ น.,อิต. ความเอิบอิ่มในธรรม แจก เหมือน รตฺติ เช่น ป.เอก. ธมฺมปีติ อ. ความ เอิบอิ่มในธรรม เป็นสัตตมีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธมฺเม ปีติ = ธมฺมปีติ คำว่า ปีติ ในคำว่า ธมฺมปีติ มาจาก ธมฺม + ปา ธาตุ ในความดื่ม, ความเอิบอิ่ม + ติ ปัจจัย แปลง อา ที่ ปา ธาตุ เป็น อี ได้รูปเป็น ปีติ แปลว่า ความเอิมอิ่ม เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า ปิวนํ = ปีติ

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมปูชา-->> คำแปล --->>น.,อิต. การบูชาซึ่งธรรม แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.เอก. ธมฺมปูชํ ซึ่งการบูชาซึ่ง ธรรม เป็นทุติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธมฺมํ ปูชา = ธมฺมปูชา

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมปฺปฏิสรณ-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีธรรมเป็นที่พึ่งเฉพาะ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. ธมฺมปฺปฏิสรเณน (ปุคฺคเลน) อันบุคคล ผู้มีธรรมเป็นที่พึ่งเฉพาะ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า ธมฺโม ปฏิสรณํ ยสฺส โส ธมฺมปฺปฏิสรโณ (ปุคฺคโล) ธรรม เป็นที่พึ่งเฉพาะ ของบุคคลใด บุคคลนั้น ชื่อว่าผู้มีธรรมเป็นที่พึ่งเฉพาะ [ซ้อน ปฺ]

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมมามก-->> คำแปล --->>ว. ผู้นับถือซึ่งพระธรรมว่าเป็นของ ของเรา ธมฺม + มม + ณ ปัจจัยในราคาทิตัทธิต ใช้แทน สนฺตกํ อายิต = ผู้นับถือ,ผู้ถึง ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย ทีฆะ อ ที่ มม เป็น อา ลบ ณ ลง ก สกัด ปุ. ได้รูปเป็น ธมฺมมามก วิ.ว่า ธมฺมํ มม สนฺตกํ อายิโต = ธมฺมมามโก (ปุริโส) บุรุษ ผู้นับถือแล้ว (ผู้ถึงแล้ว) ซึ่งพระธรรม ว่าเป็นของมีอยู่ ของเรา ชื่อว่า ธมฺมมามโกๆ ผู้นับถือซึ่งพระธรรมว่าเป็น ของของเรา อิต. ลง อิ อาคม และ อา เครื่องหมายอิตถีลิงค์ ได้รูปเป็น ธมฺมมามิกา วิ.ว่า ธมฺมํ มม สนฺตกํ อายิตา = ธมฺมมามิกา (อิตฺถี) หญิง ผู้นับถือแล้ว (ผู้ถึงแล้ว) ซึ่งพระธรรม ว่าเป็นของมีอยู่ ของเรา ชื่อว่า ธมฺมมามิกาๆ ผู้นับถือซึ่งพระธรรมว่าเป็นของของเรา

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมยาค-->> คำแปล --->>น.,ปุ. การบูชาซึ่งธรรม แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธมฺมยาโค อ. การบูชาซึ่งธรรม เป็นทุติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธมฺมํ ยาโค = ธมฺมยาโค คำว่า ยาค มาจาก ยช ธาตุ ในความ บูชา + ณ ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา แปลง ช เป็น ค ลบ ณ ได้รูปเป็น ธมฺมยาค แปลว่า การบูชา เป็นภาวรูป ภาว- สาธนะ วิ.ว่า ยชนํ = ยาโค

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมราชา-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระราชาเพราะธรรม แจก เหมือน มหาราช เช่น ป.เอก. ธมฺมราชา อ. พระราชาเพราะธรรม เป็นตติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธมฺเมน ราชา = ธมฺมราชา

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมวาที-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้กล่าวซึ่งธรรมโดยปกติ มาจาก ธมฺม + วท ธาตุ ในความกล่าว + ณี ปัจจัย ด้วย อำนาจ ณี ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อี ได้รูปเป็น ธมฺมวาที แปลว่า ผู้กล่าวซึ่งธรรมโดยปกติ เป็นกัตตุรูป กัตตุ สาธนะ ลงในอรรถแห่งตัสสีละ แจกเหมือน เสฏฺ เช่น ต.เอก. ธมฺมวาทินา (ภิกฺขุนา) อันภิกษุ ผู้กล่าวซึ่งธรรมโดยปกติ วิ.ว่า ธมฺมํ วทติ สีเลนาติ ธมฺมวาที (ภิกฺขุ) ภิกษุใด ย่อมกล่าว ซึ่งธรรม โดยปกติ เหตุนั้น ภิกษุนั้น ชื่อว่า ธมฺมวาทีๆ ผู้กล่าวซึ่งธรรมโดยปกติ

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมวินยํ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. สู่พระธรรมและพระวินัย เป็น สมาหารทวันทวสมาส แจกเหมือน กุล เฉพาะ ฝ่ายเอกวจนะ วิ.ว่า ธมฺโม จ วินโย จ = ธมฺมวินยํ พระธรรมด้วย พระวินัยด้วย ชื่อว่า ธมฺมวินยํๆ พระธรรมและพระวินัย

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมสงฺคาหกาจริโย-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อ. พระธรรมสังคาห- กาจารย์ แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมสภา-->> คำแปล --->>๑ น.,อิต. ธรรมสภา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ส.เอก. ธมฺมสภายํ ในธรรมสภา

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมสภา-->> คำแปล --->>๒ น.,อิต. (โรง) เป็นที่กล่าวกับเป็นที่ แสดงซึ่งธรรม ธมฺมเทสนา + สห + ภา ธาตุ ในความกล่าว + อ ปัจจัย ลบ เทสนา เหลือไว้ แต่ ธมฺม ลบ ห เหลือไว้แต่ ส ได้รูปเป็น ธมฺมสภา แปลว่า เป็นที่กล่าวกับเป็นที่แสดงซึ่งธรรม หรือ เป็นที่กล่าวกับด้วยการแสดงซึ่งธรรม เป็นกัตตุรูป อธิกรณสาธนะ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ส.เอก. ธมฺมสภายํ (สาลายํ) ในโรง เป็น ที่กล่าวกับด้วยการแสดงซึ่งธรรม วิ.ว่า ธมฺม- เทสนาย สห ภาติ เอตฺถาติ ธมฺมสภา (สาลา) ภิกษุ ย่อมกล่าว กับด้วยการแสดงซึ่งธรรม ใน โรงนั่น เหตุนั้น โรงนั่น ชื่อว่า ธมฺมสภาๆ เป็นที่ กล่าวกับด้วยการแสดงซึ่งธรรม

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมสฺสวน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. การฟังซึ่งธรรม แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. ธมฺมสฺสวนํ อ. การฟังซึ่งธรรม เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธมฺมสฺส สวนํ = ธมฺมสฺสวนํ [ซ้อน สฺ] คำว่า สวน ในคำว่า ธมฺมสฺสวน มาจาก สุ ธาตุ ในความฟัง + ยุ ปัจจัย พฤทธิ อุ ที่ สุ ธาตุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ยุ เป็น อน ได้รูปเป็น สวน แปลว่า การฟัง เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า สวนํ = สวนํ การฟัง ชื่อว่า สวนํๆ การฟัง

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมสฺสวนกาล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กาลเป็นที่ฟังซึ่งธรรม แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. ธมฺมสฺสวนกาลํ ซึ่งกาลเป็นที่ฟังซึ่งธรรม เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ. วิ. ธมฺมํ สุณนฺติ เอตฺถาติ ธมฺมสฺสวโน (กาโล) ชน ท. ย่อมฟัง ซึ่งธรรม ในกาลนั่น เหตุนั้น กาลนั่น ชื่อว่า ธมฺมสฺสวโนๆ เป็นที่ฟังซึ่งธรรม วิ.บุพ.กัม.วิ. ธมฺมสฺสวโน กาโล = ธมฺมสฺสวน- กาโล

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมสฺสวนตฺถ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ประโยชน์แก่อันฟัง ซึ่งธรรม แจกเหมือน ปุริส เช่น จ.เอก. ธมฺมสฺสวนตฺถาย เพื่อประโยชน์แก่อันฟังซึ่ง ธรรม เป็นจตุตถีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริส สมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. ธมฺมสฺส สวนํ = ธมฺมสฺสวนํ [ซ้อน สฺ] จตุ.ตัป.วิ. ธมฺมสฺสวนสฺส อตฺโถ = ธมฺมสฺสวนตฺโถ

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมสฺสวนทิวส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. วันเป็นที่ฟังซึ่งธรรม ดู ธมฺมสฺสวนกาล

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมสฺสวนนฺตราย-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อันตรายแห่งการฟัง ซึ่งธรรม แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. ธมฺมสฺ- สวนนฺตรายํ ซึ่งอันตรายแห่งการฟังซึ่งธรรม เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. ธมฺมสฺส สวนํ = ธมฺมสฺสวนํ [ซ้อน สฺ] จตุ.ตัป.วิ. ธมฺมสฺสวนสฺส อนฺตราโย = ธมฺมสฺสวนนฺตราโย

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมสฺสวนวตฺถุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งการฟังซึ่ง ธรรม แจกเหมือน วตฺถุ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตาม ลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. ธมฺมสฺส สวนํ = ธมฺมสฺสวนํ [ซ้อน สฺ] ฉ.ตัป.วิ. ธมฺมสฺสวนสฺส วตฺถุ = ธมฺมสฺสวนวตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมสฺสวนาวสาน-->> คำแปล --->>น.,ปุ. (กาล) อันเป็นที่สุดลง แห่งการฟังซึ่งธรรม ดู อนุโมทนาวสาน

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมสฺสามิ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เจ้าของแห่งธรรม แจกเหมือน มุนิ เช่น ป.เอก. ธมฺมสฺสามิ อ. เจ้าของแห่งธรรม เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธมฺมสฺส สามิ = ธมฺมสฺสามิ [ซ้อน สฺ]

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมสํเวค-->> คำแปล --->>๑ น.,ปุ. ธรรมสังเวช แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธมฺมสํเวโค อ. ธรรมสังเวช

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมสํเวค-->> คำแปล --->>๒ น.,ปุ. ความสังเวชในเพราะธรรม แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธมฺมสํเวโค อ. ความสังเวชในเพราะธรรม เป็นสัตตมีตัปปุริส สมาส วิ.ว่า ธมฺเม สํเวโค = ธมฺมสํเวโค

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมานุวตฺตี-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้ประพฤติตามซึ่งธรรมโดย ปกติ มาจาก ธมฺม + อนุ + วตฺต ธาตุ ในความ ประพฤติ + ณี ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ อี ได้รูป เป็น ธมฺมานุวตฺตี แปลว่า ผู้ประพฤติตามซึ่ง ธรรมโดยปกติ แจกเหมือน เสฏฺ เช่น ป.พหุ. ธมฺมานุวตฺติโน (ชนา) อ. ชน ท. ผู้ประพฤติ ตามซึ่งธรรมโดยปกติ วิ.ว่า ธมฺมํ อนุวตฺตนฺติ สีเลนาติ ธมฺมานุวตฺติโน (ชนา) ชน ท. เหล่าใด ย่อมประพฤติตาม ซึ่งธรรม โดยปกติ เหตุนั้น ชน ท. เหล่านั้น ชื่อว่า ธมฺมานุวตฺติโนๆ ผู้ประพฤติตามซึ่งธรรมโดยปกติ

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมานุสฺสติ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ธรรมานุสสติ แจกเหมือน รตฺติ เช่น ทุ.เอก. ธมฺมานุสฺสตึ ซึ่งธรรมานุสสติ

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมาภิสมย-->> คำแปล --->>น.,ปุ. การรู้เฉพาะซึ่งธรรม มาจาก ธมฺม + อภิ + สํ + อิ ธาตุ ในความรู้ + ณ ปัจจัย แปลง อิ ธาตุ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย เป็น ธมฺม + อภิ + สํ + อย ระหว่าง ธมฺม - อภิ ลบ สระหน้า ทีฆะสระหลัง ต่อเป็น ธมฺมาภิ ระหว่าง สํ - อย สระอยู่หลัง แปลงนิคคหิต เป็น ม ได้รูป เป็น ธมฺมาภิสมย แปลว่า การรู้เฉพาะซึ่งธรรม เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า ธมฺมาภิสมยนํ = ธมฺมาภิสมโย

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมาสน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ธรรมาสน์ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. ธมฺมาสนํ สู่ธรรมาสน์

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมิก-->> คำแปล --->>๑ ว. ผู้ตั้งอยู่ในธรรม มาจาก ธมฺม ศัพท์ + ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต ใช้แทน ติฏฺติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อิก ได้รูปเป็น ธมฺมิก ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธมฺมิโก (ราชา) วิ.ว่า ธมฺเม ติฏฺตีติ ธมฺมิโก (ราชา) พระราชาใด ย่อมตั้งอยู่ ในธรรม เหตุนั้น พระราชานั้น ชื่อว่า ธมฺมิโกๆ ผู้ตั้งอยู่ในธรรม

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมิก-->> คำแปล --->>๒ ว. อันประกอบแล้วด้วยธรรม มาจาก ธมฺม ศัพท์ + ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต ใช้แทน นิยุตฺต ลบ ณ เหลือไว้แต่ อิก ได้รูปเป็น ธมฺมิก ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธมฺมิโก (โทหโฬ) วิ.ว่า ธมฺเมน นิยุตฺโต = ธมฺมิโก (โทหโฬ) ความแพ้ท้อง ประกอบแล้ว ด้วยธรรม ชื่อว่า ธมฺมิโกๆ ประกอบแล้วด้วยธรรม

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมิกตฺเถร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระเถระผู้ตั้งอยู่ในธรรม เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ณิก ปัจจัย ในตรตฺาทิตัทธิต ใช้แทน ติฏฺติ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ณิก.ตรตฺยา.วิ. ธมฺเม ติฏฺตีติ ธมฺมิโก (เถโร) วิ.บุพ.กัม.วิ. ธมฺมิโก เถโร = ธมฺมิกตฺเถโร [ซ้อน ตฺ]

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมิกตฺเถรวตฺถุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งพระเถระ ผู้ตั้งอยู่ในธรรม เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มี ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต และวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตาม ลำดับ ดังนี้ ณิก.ตรตฺยา.วิ. ธมฺเม ติฏฺตีติ ธมฺมิโก (เถโร) วิ.บุพ.กัม.วิ. ธมฺมิโก เถโร = ธมฺมิกตฺเถโร [ซ้อน ตฺ] ฉ.ตัป.วิ. ธมฺมิกตฺเถรสฺส วตฺถุ = ธมฺมิกตฺเถรวตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมิกอุปาสก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อุบาสกผู้ตั้งอยู่แล้วในธรรม เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต ใช้แทน ต เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ณิก.ตรตฺยา.วิ. ธมฺเม โต = ธมฺมิโก (อุปาสโก) วิ.บุพ.กัม.วิ. ธมฺมิโก อุปาสโก = ธมฺมิกอุปาสโก แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมิกอุปาสกวตฺถุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งอุบาสก ผู้ตั้งอยู่แล้วในธรรม เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มี ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต และวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ณิก.ตรตฺยา.วิ. ธมฺเม โต = ธมฺมิโก (อุปาสโก) วิ.บุพ.กัม.วิ. ธมฺมิโก อุปาสโก = ธมฺมิกอุปาสโก ฉ.ตัป.วิ. ธมฺมิกอุปาสกสฺส วตฺถุ = ธมฺมิกอุปาสกวตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมิเกน-->> คำแปล --->>ว. ดู ธมฺมิก มาจาก ธมฺมิก ลง นา ต.เอก. สำเร็จรูปเป็น ธมฺมิเกน โดยมีคำเชื่อม คือ ด้วย,โดย,อัน,ตาม,เพราะ,มี,ด้วยทั้ง.

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมิเกเนวายํ-->> คำแปล --->>ธมฺมิเกน + เอว + อยํ

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมีกถา-->> คำแปล --->>๑ น.,อิต. ธรรมีกถา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. ธมฺมีกถา อ. ธรรมีกถา

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมีกถา-->> คำแปล --->>๒ น.,อิต. การกล่าวซึ่งธรรม แจก เหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. ธมฺมีกถา อ. การ กล่าวซึ่งธรรม เป็นทุติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธมฺมํ กถา = ธมฺมีกถา [แปลง อ ที่ ธมฺม เป็น อี เหมือน อนุปุพฺพีกถา]

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมเจติยสุตฺตนิยาเมน-->> คำแปล --->>น.,ปุ. โดยทำนองแห่ง ธรรมเจติยสูตร เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธมฺมเจติยสุตฺตสฺส นิยาโม = ธมฺมเจติย- สุตฺตนิยาโม

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมเทสนา-->> คำแปล --->>๑ น.,อิต. พระธรรมเทศนา แจก เหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. ธมฺมเทสนา อ. พระธรรมเทศนา

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมเทสนา-->> คำแปล --->>๒ น.,อิต. การแสดงซึ่งธรรม มา จาก ธมฺม + ทิส ธาตุ ในความแสดง + ยุ ปัจจัย วิการ อิ ที่ ทิส ธาตุ เป็น เอ แปลง ยุ เป็น อน ลง อา เครื่องหมายอิตถีลิงค์ ได้รูปเป็น ธมฺมเทสนา แปลว่า การแสดงซึ่งธรรม เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า ธมฺมเทสนา = ธมฺมเทสนา ถ้าเป็นสมาส เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธมฺมสฺส เทสนา = ธมฺมเทสนา [ข้อสังเกต คำว่า เทสนา เป็น อา การันต์ ในอิตถีลิงค์ แจกเหมือน กญฺญา แต่ที่ใช้เป็น เทสน เป็น อ การันต์ ในนปุสกลิงค์ แจกเหมือน กุล ก็มี เช่น ธมฺมเทสนตฺถํ ศัพท์เดิมเป็น ธมฺมเทสน อ การันต์ ในนปุงสกลิงค์ ลง ส จตุตถีวิภัตติ ฝ่าย เอกวจนะ แปลง ส เป็น ตฺถํ สำเร็จรูปเป็น ธมฺมเทสนตฺถํ แปลว่า เพื่ออันแสดงซึ่งธรรม]

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมเทสนานุคต-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (จิต) ไปตามแล้วซึ่ง พระธรรมเทศนา แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. ธมฺมเทสนานุคตํ (จิตฺตํ) ซึ่งจิต อันไปตามแล้ว ซึ่งพระธรรมเทศนา เป็นทุติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธมฺมเทสนํ อนุคตํ = ธมฺมเทสนานุคตํ (จิตฺตํ)

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมเสนาปติ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระธรรมเสนาบดี (ชื่อของ พระสารีบุตร) แจกเหมือน มุนิ เช่น ป.เอก. ธมฺมเสนาปติ อ. พระธรรมเสนาบดี

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมเสนาปติตฺเถรปฺปมุขานิ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (ภิกฺขุสตานิ) ยังร้อยแห่งภิกษุ ท. ผู้มีพระธรรมเสนาบดี เถระเป็นประมุข เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส วิ.ว่า ธมฺมเสนาปติตฺเถโร ปมุขํ เยสํ ตานิ ธมฺมเสนาปติตฺเถรปฺปมุขานิ (ภิกฺขุสตานิ) แจกเหมือน อกฺขิ [ซ้อน ปฺ]

ศัพท์บาลี --->>ธมฺมเสนาปติสารีปุตฺตตฺเถร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระเถระชื่อว่า สารีบุตรผู้เป็นธรรมเสนาบดี แจกเหมือน ปุริส เช่น ฉ.เอก. ธมฺมเสนาปติสารีปุตฺตตฺเถรสฺส ของพระเถระชื่อว่าสารีบุตรผู้เป็นธรรมเสนาบดี เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. สารีปุตฺโต เถโร = สารีปุตฺตตฺเถโร [ซ้อน ตฺ] วิ.บุพ.กัม.วิ. ธมฺมเสนาปติ สารีปุตฺตตฺเถโร = ธมฺมเสนาปติ สารีปุตฺตตฺเถโร

ศัพท์บาลี --->>ธรนฺต-->> คำแปล --->>ก. ทรงพระชนม์อยู่, ทรงอยู่ ธร ธาตุ ใน ความทรงไว้ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ได้รูปเป็น ธรนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>ธรมาน-->> คำแปล --->>ก. ทรงพระชนม์อยู่, ทรงอยู่ ธร ธาตุ ใน ความทรงไว้ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + มาน ปัจจัย ได้รูปเป็น ธรมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>ธรมานกพุทฺธ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระพุทธเจ้าผู้ทรงพระชนม์ อยู่ แจกเหมือน ปุริส เช่น จ.เอก. ธรมานกพุทฺธสฺส แก่พระพุทธเจ้าผู้ทรงพระชนม์อยู่ เป็นวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า ธรมานโก พุทฺโธ = ธรมานกพุทฺโธ

ศัพท์บาลี --->>ธรมานกมาตาปิตูนํ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ของมารดาและบิดา ผู้ทรงอยู่ ท. เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีอสมาหารทวันทวสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทวัน.วิ. มาตา จ ปิตา จ = มาตาปิตโร วิ.บุพ.กัม.วิ. ธรมานกา มาตาปิตโร = ธรมานกมาตาปิตโร แจกเหมือน ปิตุ

ศัพท์บาลี --->>ธาตุ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ธาตุ, พระธาตุ แจกเหมือน รชฺชุ เช่น ทุ.พหุ. ธาตุโย ซึ่งธาตุ ท.

ศัพท์บาลี --->>ธาตุกมฺมฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ธาตุกัมมัฏฐาน แจก เหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. ธาตุกมฺมฏฺานํ ซึ่ง ธาตุกัมมัฏฐาน

ศัพท์บาลี --->>ธาตุคฺคหณ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อัน (การ) ถือเอาซึ่งพระธาตุ แจกเหมือน กุล เช่น จ.เอก. ธาตุคฺคหณตฺถํ เพื่ออันถือเอาซึ่งพระธาตุ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธาตุยา คหณํ = ธาตุคฺคหณํ คำว่า คหณ มาจาก คห ธาตุ ในความถือเอา + ยุ ปัจจัย แปลง ยุ เป็น อณ ได้รูปเป็น คหณ แปลว่า การถือเอา เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า คหณํ = คหณํ การถือเอา ชื่อว่า คหณํๆ การถือเอา

ศัพท์บาลี --->>ธารณ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. การทรงไว้ แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. ธารณํ อ. การทรงไว้ มาจาก ธร ธาตุ ในความทรงไว้ + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ยุ ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ แปลง ยุ เป็น อณ เป็น ธาเร - อณ ลบสระหน้า คือ เอ ที่ เร ได้รูปเป็น ธารณ แปลว่า การทรงไว้ เป็น ภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า ธารณํ = ธารณํ การ ทรงไว้ ชื่อว่า ธารณํๆ การทรงไว้

ศัพท์บาลี --->>ธารยมาน-->> คำแปล --->>ก. ทรงไว้อยู่ ธร ธาตุ ในความทรงไว้ + ณย ปัจจัยในกัตตุวาจก + มาน ปัจจัย ด้วย อำนาจ ณย ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ ย ได้รูปเป็น ธารยมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>ธารา-->> คำแปล --->>๑ น.,อิต. คม แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.เอก. ธารํ ซึ่งคม ต.เอก. ธาราย ด้วยคม

ศัพท์บาลี --->>ธารา-->> คำแปล --->>๒ น.,อิต. สายนํ้า แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.พหุ. ธารา อ. สายนํ้า ท.

ศัพท์บาลี --->>ธาราปาตนิรนฺตรํ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (นภํ) อ. ท้องฟ้า อันมี การตกแห่งสายนํ้าอันมีระหว่างออกแล้ว [ธ. ๔: ปฏาจาราวตฺถุ หน้า ๑๓๗] ธารา + ปาต + นิ → นิกฺขนฺต + อนฺตรํ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพ พิหิสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส และฉัฏฐีตุลยาธิ กรณพหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตาม ลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. ธาราย ปาโต = ธาราปาโต การตกแห่งสายนํ้า ฉ.ตุล.วิ. นิกฺขนฺตํ อนฺตรํ ยสฺส โส นิรนฺตโร (ธาราปาโต) ระหว่าง แห่งการตก แห่งสายนํ้าใด ออกแล้ว การตกแห่งสายแห่งนํ้า นั้น ชื่อว่าอันมีระหว่างออกแล้ว ฉ.ตุล.วิ. ธารา- ปาโต นิรนฺตโร ยสฺส ตํ ธาราปาตนิรนฺตรํ (นภํ) การตกแห่งสายแห่งนํ้า ของท้องฟ้าใด มีระหว่าง ออกแล้ว ท้องฟ้านั้น ชื่อว่าอันมีการตกแห่ง สายแห่งนํ้าอันมีระหว่างออกแล้ว

ศัพท์บาลี --->>ธาริยมาน-->> คำแปล --->>ก. อัน…ทรงไว้อยู่ ธร ธาตุ ในความ ทรงไว้ + เณ ปัจจัย + อิ อาคม หน้า ย ปัจจัยใน กัมมวาจก + มาน ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ เป็น ธาเร - อิ + ย + มาน ลบสระหน้า คือ เอ ที่ เร ได้รูปเป็น ธาริยมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>ธาวติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น อิตฺถี อ. หญิง) ย่อมวิ่งไป ธาว ธาตุ ในความแล่นไป, ความวิ่งไป + อ ปัจจัยในกัตตุ วาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น ธาวติ

ศัพท์บาลี --->>ธาวนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น รํสิโย อ. รัศมี ท.) ย่อมแล่นไป ธาว ธาตุ ในความแล่นไป,ความวิ่งไป + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูป เป็น ธาวนฺติ

ศัพท์บาลี --->>ธาวิต-->> คำแปล --->>ก. วิ่งไปแล้ว ธาว ธาตุ ในความวิ่งไป + ต ปัจจัย ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น ธาวิต ดู อกิลนฺต

ศัพท์บาลี --->>ธาเรติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เสฏฺ อ. เศรษฐี) ย่อมทรงไว้ ธร ธาตุ ในความทรงไว้ + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูป เป็น ธาเรติ

ศัพท์บาลี --->>ธาเรตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันทรงไว้, เพื่ออันทรงไว้ ธร ธาตุ ในความทรงไว้ + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น ธาเรตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>ธาเรตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ทรงไว้แล้ว ธร ธาตุ ในความทรงไว้ + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือ ไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น ธาเรตฺวา

ศัพท์บาลี --->>ธาเรนฺต-->> คำแปล --->>ก. ทรงไว้อยู่, กั้นอยู่ ธร ธาตุ ในความ ทรงไว้ + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น ธาเรนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>ธาเรนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น อิตฺถิโย อ. หญิง ท.) ย่อมทรงไว้ ธร ธาตุ ในความทรงไว้ + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น ธาเรนฺติ

ศัพท์บาลี --->>ธาเรสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เทวทตฺโต อ. พระเทวทัต) ทรง ไว้แล้ว ธร ธาตุ ในความทรงไว้ + เณ ปัจจัยใน กัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้ แต่ เอ ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูป เป็น ธาเรสิ

ศัพท์บาลี --->>ธาเรหิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จงทรงไว้ ธร ธาตุ ใน ความทรงไว้ + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้น ธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูป เป็น ธาเรหิ

ศัพท์บาลี --->>ธิติมา-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องทรงจำ ศัพท์ เดิมเป็น ธิติมนฺตุ อุ การันต์ ในปุงลิงค์ ลง สิ ปฐมาวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ แปลง นฺตุ กับ สิ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น ธิติมา แจกเหมือน ภควนฺตุ คำว่า ธิติมา มาจาก ธิติ ศัพท์ + มนฺตุ ปัจจัยใน ตทัสสัตถิตัทธิต วิ.ว่า ธิติ อสฺส อตฺถีติ ธิติมา (ปุคฺคโล)

ศัพท์บาลี --->>ธีติสมฺปนฺน-->> คำแปล --->>ว. ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปัญญาเป็น เครื่องทรงจำ เป็นตติยาตัปปุริสสมาส ปุ. แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธีติสมฺปนฺโน (ปุคฺคโล) อ. บุคคล ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปัญญาเป็นเครื่อง ทรงจำ วิ.ว่า ธีติยา สมฺปนฺโน = ธีติสมฺปนฺโน (ปุคฺคโล)

ศัพท์บาลี --->>ธีตุ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ธิดา แจกเหมือน มาตุ เช่น ป.เอก. ธีตา อ. ธิดา พหุ. ธีตโร อ. ธิดา ท. [ข้อสังเกต คำว่า ธิดา ส่วนใหญ่จะมาจากศัพท์ว่า ธีตุ เป็น อุ การันต์ ในอิตถีลิงค์ แจกเหมือน มาตุ แต่ใน ธรรมบทภาค ๑ - ๔ มีอยู่หลายเรื่อง ที่ใช้เป็น ธีตา อา การันต์ ในอิตถีลิงค์ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ธรรมบทภาค ๒ เรื่องสามาวดี หน้า ๒๐ เป็น ธีตาย แห่งธิดา และธรรมบทภาค ๓ เรื่อง นางวิสาขา เป็น ธีตานํ ของพระธิดา ท.]

ศัพท์บาลี --->>ธีร-->> คำแปล --->>๑ ว.,ปุ. ผู้เป็นปราชญ์ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. ธีรํ (สหายํ) ซึ่งสหาย ผู้เป็นปราชญ์

ศัพท์บาลี --->>ธีร-->> คำแปล --->>๒ น.,ปุ. นักปราชญ์ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธีโร อ. นักปราชญ์

ศัพท์บาลี --->>ธุตฺต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นักเลง แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธุตฺโต อ. นักเลง

ศัพท์บาลี --->>ธุร-->> คำแปล --->>๑ น.,นปุ. ธุระ, แอก แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. ธุรํ ซึ่งธุระ, ซึ่งแอก

ศัพท์บาลี --->>ธุร-->> คำแปล --->>๒ ว. ใกล้ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธุโร (วิหาโร) อ. วิหาร อันใกล้

ศัพท์บาลี --->>ธุรวิหาร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระวิหารอันใกล้ แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. ธุรวิหาเร ในพระวิหารอันใกล้ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า ธุโร วิหาโร = ธุรวิหาโร

ศัพท์บาลี --->>ธุว-->> คำแปล --->>ว. ยั่งยืน, เที่ยงแท้ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธุโว (ธมฺโม) อ. ธรรม อันยั่งยืน นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. ธุวํ (มรณํ) อ. ความตาย เที่ยงแท้

ศัพท์บาลี --->>ธุวธมฺม-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ธรรมอันยั่งยืน แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธุวธมฺโม อ. ธรรมอันยั่งยืน เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า ธุโว ธมฺโม = ธุวธมฺโม

ศัพท์บาลี --->>ธูตงฺค-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ธุดงค์ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.พหุ. ธูตงฺคานิ ซึ่งธุดงค์ ท.

ศัพท์บาลี --->>ธูม-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ควัน แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธูโม อ. ควัน

ศัพท์บาลี --->>ธูมกฏจฺฉุก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ทัพพีเป็นเครื่องตักซึ่งควัน แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธูมกฏจฺฉุโก อ. ทัพพี เป็นเครื่องตักซึ่งควัน เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ธูมสฺส (สมฺปฏิจฺฉโน) กฏจฺฉุโก = ธูมกฏจฺฉุโก

ศัพท์บาลี --->>ธูมติมิรภาว-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความที่แห่ง…เป็นควันและ หมอก แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. ธูมติมิรภาวํ ซึ่งความที่แห่ง…เป็นควันและหมอก เป็นฉัฏฐี ตัปปุริสสมาส มีสมาหารทวันทวสมาส เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทวัน.วิ. ธูโม จ ติมิโร จ = ธูมติมิรํ ฉ.ตัป.วิ. ธูมติมิรสฺส ภาโว = ธูมติมิรภาโว

ศัพท์บาลี --->>ธูมราสิ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กลุ่มแห่งควัน แจกเหมือน มุนิ เช่น ป.เอก. ธูมราสิ อ. กลุ่มแห่งควัน เป็นฉัฏฐีตัป ปุริสสมาส วิ.ว่า ธูมานํ ราสิ = ธูมราสิ

ศัพท์บาลี --->>ธูมายนฺต-->> คำแปล --->>ก. ประพฤติเพียงดังควันอยู่ ธูม ศัพท์ + อาย ปัจจัย + อนฺต ปัจจัย ได้รูปเป็น ธูมายนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>ธูมายนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น อกฺขีนิ อ. นัยน์ตา ท.) ย่อม ประพฤติเพียงดังควัน ธูม ศัพท์ + อาย ปัจจัย ในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูป เป็น ธูมายนฺติ

ศัพท์บาลี --->>ธูมายิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เถโร อ. พระเถระ) ประพฤติเพียง ดังควันแล้ว ธูม ศัพท์ + อาย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูป เป็น ธูมายิ

ศัพท์บาลี --->>ธูมาเปตฺวา-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้บังหวนควันแล้ว ธูม ศัพท์ + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น ธูมาเปตฺวา

ศัพท์บาลี --->>ธูร-->> คำแปล --->>ว. ใกล้ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ธูโร (วิหาโร) อ. วิหาร อันใกล้

ศัพท์บาลี --->>ธูรวิหาร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระวิหารอันใกล้ แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. ธูรวิหาเร ในพระวิหารอันใกล้ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า ธูโร วิหาโร = ธูรวิหาโร


คำศัทพ์