ศัพท์บาลี --->>ตึส-->> คำแปล --->>ว.,อิต. สามสิบ แจกเหมือน เอกูนวีส เช่น ป.พหุ. ตึสํ (ชนา) อ. ชน ท. สามสิบ

ศัพท์บาลี --->>ตึสชน-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ชนสามสิบ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.พหุ. ตึสชเน ซึ่งชนสามสิบ ท. เป็นอสมาหาร ทิคุสมาส วิ.ว่า ตึสํ ชนา = ตึสชนา

ศัพท์บาลี --->>ตึสธุตฺต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. นักเลงสามสิบ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. ตึสธุตฺตา อ.นักเลงสามสิบ ท. เป็น อสมาหารทิคุสมาส วิ.ว่า ตึสํ ธุตฺตา = ตึสธุตฺตา

ศัพท์บาลี --->>ตึสมตฺต-->> คำแปล --->>ว. มีประมาณสามสิบ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.พหุ. ตึสมตฺเต (ภิกฺขู) ซึ่งภิกษุ ท. ผู้มี ประมาณสามสิบ เป็นฉัฏฐตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส วิ.ว่า ตึส มตฺตานิ เยสํ เต ตึสมตฺตา (ภิกฺขู) ประมาณ ท. ของภิกษุ ท. เหล่าใด สามสิบ ภิกษุ ท. เหล่านั้น ชื่อว่าผู้มีประมาณสามสิบ

ศัพท์บาลี --->>ตึสสหสฺส-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีพันสามสิบ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ตึสสหสฺสา (ภิกฺขู) อ. ภิกษุ ท. ผู้มี พันสามสิบ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า ตึสํ สหสฺสานิ เยสํ เต ตึสสหสฺสา (ภิกฺขู) พัน ท. ของภิกษุ ท. เหล่าใด สามสิบ ภิกษุ ท. เหล่านั้น ชื่อว่าผู้มีพันสามสิบ

ศัพท์บาลี --->>ตึสโยชนมคฺค-->> คำแปล --->>น.,ปุ. หนทางมีโยชน์สามสิบ แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. ตึสโยชนมคฺเค ในหนทางมีโยชน์สามสิบ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. ตึส โยชนานิ ยสฺส โส ตึสโยชโน (มคฺโค) โยชน์ ท. ของหนทางใด สามสิบ หนทาง นั้น ชื่อว่ามีโยชน์สามสิบ วิ.บุพ.กัม.วิ. ตึสโยชโน มคฺโค = ตึสโยชนมคฺโค

ศัพท์บาลี --->>ตึสโยชนิก-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (หนทาง) อันประกอบด้วย โยชน์สามสิบ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ตึสโยชนิโก (มคฺโค) อ. หนทาง อันประกอบด้วย โยชน์สามสิบ ลง ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต มีสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ตึสํ โยชนานิ = ตึสโยชนานิ ณิก.ตรตฺยา.วิ. ตึสโยชเนหิ นิยุตฺโต = ตึสโยชนิโก (มคฺโค)

ศัพท์บาลี --->>ตึสโยชนิกฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่อันประกอบด้วย โยชน์สามสิบ แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. ตึสโยชนิกฏฺาเน ในที่อันประกอบด้วยโยชน์ สามสิบ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี อสมาหารทิคุสมาส และ ณิก ปัจจัย ในตรตฺยา ทิตัทธิต เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ตึสํ โยชนานิ = ติโยชนานิ ณิก. ตรตฺยา.วิ. ตึสโยชเนหิ นิยุตฺตํ = ตึสโยชนิกํ (านํ) วิ.บุพ.กัม.วิ. ตึสโยชนิกํ านํ = ตึสโยชนิกฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ]


คำศัทพ์