ศัพท์บาลี --->>ติ-->> คำแปล --->>ว. สาม แจกได้ใน ๓ ลิงค์ ปุ. เช่น ป.พหุ. ตโย (ชนา) อ. ชน ท. สาม อิต. เช่น ป.พหุ. ติสฺโส (อิตฺถิโย) อ. หญิง ท. สาม นปุ. เช่น ป.พหุ. ตีณิ (จีวรานิ) อ. จีวร ท. สาม

ศัพท์บาลี --->>ติกิจฺฉา-->> คำแปล --->>น.,อิต. การเยียวยา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ปญฺ.เอก ติกิจฺฉาย จากการเยียวยา

ศัพท์บาลี --->>ติกิจฺฉาเปติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น พฺราหฺมโณ อ. พราหมณ์) ยัง…ย่อมให้เยียวยา กิต ธาตุ ในความเยียวยา + ฉ ปัจจัย + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ เทฺวภาวะ กิ ขึ้นมาหน้า กิต ธาตุ แปลง ก พยัญชนะอัพภาส เป็น ต ด้วยอำนาจ ฉ ปัจจัยอยู่หลัง แปลง ต ที่สุดธาตุเป็น จฺ ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น ติกิจฺฉาเปติ

ศัพท์บาลี --->>ติกิจฺฉาเปหิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จงยัง…ให้เยียวยา กิต ธาตุ ในความเยียวยา + ฉ ปัจจัย + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ เทฺวภาวะ กิ ขึ้นมาหน้า กิต ธาตุ แปลง ก พยัญชนะอัพภาส เป็น ต ด้วยอำนาจ ฉ ปัจจัย อยู่หลัง แปลง ต ที่สุดธาตุเป็น จฺ ลบ ณ เหลือไว้ แต่ อาเป สำเร็จรูปเป็น ติกิจฺฉาเปหิ

ศัพท์บาลี --->>ติกฺขตฺตุ-->> คำแปล --->>นิ. สิ้นสามครั้ง เป็นนิบาตมีเนื้อความ ต่างๆ เช่น ติกฺขตฺตุ ปฏิขิปิตฺวา = ห้ามแล้ว สิ้นสามครั้ง

ศัพท์บาลี --->>ติขิณ-->> คำแปล --->>ว. คม, กล้า แจกได้ใน ๓ ลิงค์ อิต. แจก เหมือน กญฺญา เช่น ต.เอก. ติขิณาย (สตฺติยา) ด้วยหอก อันคม

ศัพท์บาลี --->>ติขิณเภสชฺช-->> คำแปล --->>น.,นปุ. เภสัชอันกล้า แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. ติขิณเภสชฺชํ ซึ่งเภสัชอันกล้า เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า ติขิณํ เภสชฺชํ = ติขิณเภสชฺชํ

ศัพท์บาลี --->>ติคาวุต-->> คำแปล --->>๑ น.,นปุ. คาวุตสาม แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. ติคาวุตํ สิ้นคาวุตสาม เป็นสมาหาร ทิคุสมาส วิ.ว่า ตีณิ คาวุตานิ = ติคาวุตํ

ศัพท์บาลี --->>ติคาวุต-->> คำแปล --->>๒ น.,นปุ. อันมีคาวุตสาม แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. ติคาวุตํ (านํ) อ. ที่ อันมีคาวุตสาม เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า ตีณิ คาวุตานิ ยสฺส ตํ ติคาวุตํ (านํ) คาวุต ท. ของ ที่ใด สาม ที่นั้น ชื่อว่ามีคาวุตสาม

ศัพท์บาลี --->>ติคาวุตปฺปมาณ-->> คำแปล --->>ว. มีคาวุตสามเป็นประมาณ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ติคาวุตปฺปมาโณ (กุมฺโภ) อ. กระพอง มีคาวุตสามเป็นประมาณ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีสมาหาร ทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทิคุ.วิ. ตีณิ คาวุตานิ = ติคาวุตํ ฉ.ตุล.วิ. ติคาวุตํ ปมาณํ ยสฺส โส ติคาวุตปฺปมาโณ (กุมฺโภ) คาวุตสาม เป็นประมาณ ของกระพองใด กระพองนั้น ชื่อว่ามีคาวุตสามเป็นประมาณ [ซ้อน ปฺ]

ศัพท์บาลี --->>ติคาวุตาธิก-->> คำแปล --->>ว. อันยิ่งด้วยคาวุตสาม นปุ. แจก เหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. ติคาวุตาธิกํ (โยชนํ) สิ้นโยชน์ อันยิ่งด้วยคาวุตสาม เป็นตติยาตัปปุริส สมาส มีสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทิคุ.วิ. ตีณิ คาวุตานิ = ติคาวุตํ ต.ตัป.วิ. ติคาวุเตน อธิกํ = ติคาวุตาธิกํ (โยชนํ) [ติคาวุตาธิกํ ตัดเป็น ติคาวุต - อธิก ลบสระหน้า คือ อ ที่ ต ทีฆะสระหลัง คือ อ ที่ อธิ เป็น อา ต่อเป็น ติคาวุตาธิกํ]

ศัพท์บาลี --->>ติจีวร-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ไตรจีวร แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. ติจีวรํ ซึ่งไตรจีวร ถ้าแปลว่า ผ้าสามผืน เป็นสมาหารทิคุสมาส วิ.ว่า ตีณิ จีวรานิ = ติจีวรํ

ศัพท์บาลี --->>ติฏฺเยฺยาสิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) พึงยืนอยู่ า ธาตุ ในความยืนอยู่ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + เอยฺยาสิ วัตตมานาวิภัตติ แปลง า ธาตุ เป็น ติฏฺ สำเร็จรูปเป็น ติฏฺเยฺยาสิ

ศัพท์บาลี --->>ติฏฺ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. เจ้า) จงหยุด า ธาตุ ในความ ตั้งอยู่, ความยืนอยู่, ความหยุด + อ ปัจจัยใน กัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ แปลง า ธาตุ เป็น ติฏฺ ลบ หิ เสีย สำเร็จรูปเป็น ติฏฺ

ศัพท์บาลี --->>ติฏฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เถโร อ. พระเถระ) ย่อมยืนอยู่ า ธาตุ ในความยืนอยู่ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ แปลง า ธาตุ เป็น ติฏฺ สำเร็จรูปเป็น ติฏฺติ

ศัพท์บาลี --->>ติฏฺตุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น พาหิโย อ. พาหิยะ) จงตั้งอยู่ า ธาตุ ในความตั้งอยู่ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตุ ปัญจมีวิภัตติ แปลง า ธาตุ เป็น ติฏฺ สำเร็จรูป เป็น ติฏฺตุ

ศัพท์บาลี --->>ติฏฺถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) ขอจงหยุด า ธาตุ ในความงดไว้, ความหยุด + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ถ ปัญจมีวิภัตติ แปลง า ธาตุ เป็น ติฏฺ สำเร็จรูปเป็น ติฏฺถ

ศัพท์บาลี --->>ติฏฺนฺต-->> คำแปล --->>ก. ยืนอยู่, ดำรงอยู่ า ธาตุ ในความ ตั้งอยู่ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย แปลง า ธาตุ เป็น ติฏฺ สำเร็จรูปเป็น ติฏฺนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>ติฏฺนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชนา อ. ชน ท.) ย่อมดำรงอยู่ า ธาตุ ในความดำรงอยู่ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ แปลง า ธาตุ เป็น ติฏฺ สำเร็จรูปเป็น ติฏฺนฺติ

ศัพท์บาลี --->>ติฏฺนฺตุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น กมฺพลานิ อ. ผ้ากัมพล ท.) จงยกไว้ า ธาตุ ในความหยุด + อ ปัจจัยใน กัตตุวาจก + อนฺตุ ปัญจมีวิภัตติ แปลง า ธาตุ เป็น ติฏฺ สำเร็จรูปเป็น ติฏฺนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>ติฏฺมาน-->> คำแปล --->>ก. ยืนอยู่ า ธาตุ ในความยืน + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + มาน ปัจจัย แปลง า ธาตุ เป็น ติฏฺ สำเร็จรูปเป็น ติฏฺมาน

ศัพท์บาลี --->>ติฏฺสิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) ย่อมยืนอยู่ า ธาตุ ใน ความยืนอยู่ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สิ วัตตมานาวิภัตติ แปลง า ธาตุ เป็น ติฏฺ สำเร็จรูปเป็น ติฏฺสิ

ศัพท์บาลี --->>ติฏฺามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) ย่อมยืนอยู่ า ธาตุ ใน ความยืนอยู่ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + มิ วัตตมานา วิภัตติ แปลง า ธาตุ เป็น ติฏฺ มิ อยู่หลัง ทีฆะ อ ที่สุดธาตุเป็น อา สำเร็จรูปเป็น ติฏฺามิ

ศัพท์บาลี --->>ติฏฺาหิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จงยืนอยู่ า ธาตุ ใน ความยืนอยู่ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ แปลง า ธาตุ เป็น ติฏฺ หิ อยู่หลัง ทีฆะ อ ที่สุดธาตุเป็น อา สำเร็จรูปเป็น ติฏฺาหิ

ศัพท์บาลี --->>ติณ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. หญ้า แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. ติณํ อ. หญ้า

ศัพท์บาลี --->>ติณคหน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ชัฏแห่งหญ้า แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. ติณคหนํ อ. ชัฏแห่งหญ้า เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ติณสฺส คหนํ = ติณคหนํ

ศัพท์บาลี --->>ติณคฺค-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ปลายแห่งหญ้า แจกเหมือน กุล เช่น ต.เอก. ติณคฺเคน ด้วยปลายแห่งหญ้า เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ติณสฺส อคฺคํ = ติณคฺคํ

ศัพท์บาลี --->>ติณตฺถ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ประโยชน์แก่หญ้า แจกเหมือน ปุริส เช่น จ.เอก. ติณตฺถาย เพื่อประโยชน์แก่ หญ้า เป็นจตุตถีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ติณานํ อตฺโถ = ติณตฺโถ

ศัพท์บาลี --->>ติณราสิ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กองแห่งหญ้า แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ติณราสิ อ. กองแห่งหญ้า เป็น จตุตถีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ติณานํ ราสิ = ติณราสิ

ศัพท์บาลี --->>ติณสากิย-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เจ้าศากยะหญ้า แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. ติณสากิยา อ. เจ้าศากยะหญ้า ท.

ศัพท์บาลี --->>ติณุกฺกา-->> คำแปล --->>น.,อิต. คบเพลิงอันเป็นวิการแห่งหญ้า แจกเหมือน ต.เอก. ติณุกฺกาย ด้วยคบเพลิงอัน เป็นวิการแห่งหญ้า เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ติณสฺส (วิกาโร) อุกฺกา = ติณุกฺกา

ศัพท์บาลี --->>ติณฺณ-->> คำแปล --->>ก. ข้ามแล้ว ตร ธาตุ ในความข้าม + ต ปัจจัย แปลง อ ที่ ต เป็น อิ แปลง ต เป็น ณฺณ ลบ ร ที่สุดธาตุ ได้รูปเป็น ติณฺณ ดู อกิลนฺต

ศัพท์บาลี --->>ติณฺห-->> คำแปล --->>ว. คม,กล้า,แข็ง ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. ติณฺเหน (อสินา) ด้วยดาบ อันคม

ศัพท์บาลี --->>ติตาลมตฺต-->> คำแปล --->>ว. อันมีลำตาลสามเป็นประมาณ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. ติตาลมตฺตํ (เวหาสํ) สู่เวหาส อันมีลำตาลสามเป็นประมาณ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีสมาหาร ทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทิคุ.วิ. ตโย ตาลา = ติตาลํ ฉ.ตุล.วิ. ติตาลํ มตฺตํ ยสฺส โส ติตาลมตฺโต (เวหาโส)

ศัพท์บาลี --->>ติติกฺขติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ปุคฺคโล อ. บุคคล) ย่อมอดกลั้น ติข ธาตุ ในความอดกลั้น + ข ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ เทฺวภาวะ ติ ขึ้นมาหน้า ติข ธาตุ ด้วยอำนาจ ข ปัจจัยอยู่หลัง แปลง ข ที่สุดธาตุ เป็น กฺ สำเร็จรูปเป็น ติติกฺขติ

ศัพท์บาลี --->>ติติกฺขิสฺสํ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) จักอดกลั้น ติข ธาตุ ใน ความอดกลั้น + ข ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสํ ภวิสสันติวิภัตติ เทฺวภาวะ ติ ขึ้นมาหน้า ติข ธาตุ ด้วยอำนาจ ข ปัจจัยอยู่หลัง แปลง ข ที่สุดธาตุ เป็น กฺ ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น ติติกฺขิสฺสํ

ศัพท์บาลี --->>ติตฺถ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ท่า แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. ติตฺถํ สู่ท่า

ศัพท์บาลี --->>ติตฺถิย-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เดียรถีย์ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. ติตฺถิยา อ. เดียรถีย์ ท.

ศัพท์บาลี --->>ติถิกรณนกฺขตฺตโยโค-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อ. ความประกอบ แห่งนักษัตรเป็นเครื่องกระทำซึ่งดิถี เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป กรณสาธนะ และวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.กรณ.วิ. ติถึ กโรติ เตนาติ ติถิกรณํ (นกฺขตฺตํ) วิ.บุพ.กัม.วิ. ติถิกรณํ นกฺขตฺตํ = ติถิกรณนกฺขตฺตํ ฉ.ตัป.วิ. ติถิกรณนกฺขตฺตสฺส โยโค = ติถิกรณนกฺขตฺตโยโค

ศัพท์บาลี --->>ติทส-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (เทพ) ผู้อยู่ในชั้นไตรทศ แจกเหมือน ปุริส เช่น ฉ.พหุ. ติทสานํ (เทวานํ) แห่งเทพ ท. ผู้อยู่ในชั้นไตรทศ ลง ณ ปัจจัยในราคาทิตัทธิต วิ.ว่า ติทเส วสนฺตีติ ติทสา (เทวา) เทพ ท. เหล่าใด ย่อมอยู่ ในชั้นไตรทศ เหตุนั้น เทพ ท. เหล่านั้น ชื่อว่า ติทสาๆ ผู้อยู่ในชั้นไตรทศ [ไตรทศ = ชื่อของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์]

ศัพท์บาลี --->>ติทิวงฺคต-->> คำแปล --->>ว. ผู้ไปแล้วสู่ภพชั้นไตรทิพย์ ปุ. แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ติทิวงฺคโต (ปุริโส) อ. บุรุษ ผู้ไปแล้วสู่ภพชั้นไตรทิพย์ เป็นทุติยา ตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ติทิวํ คโต = ติทิวงฺคโต (ปุริโส) เป็นอลุตตสมาส ในสมาสว่าโดยกิจ และ เป็นอาเทสนิคคหิตสนธิ ตัดเป็น ติทิวํ - คโต พยัญชนะอยู่หลัง แปลงนิคคหิตเป็น งฺ เพราะ ค อยู่หลัง ต่อเป็น ติทิวงฺคโต

ศัพท์บาลี --->>ติธา-->> คำแปล --->>อัพ. โดยส่วนสาม ลง ธา ปัจจัยในวิภาคตัทธิต เป็นตติยาวิภัตติ เอกวจนะ วิ.ว่า ตีหิ วิภาเคหิ = ติธา โดยส่วน ท. สาม ชื่อว่า ติธาๆ โดยส่วน สาม เช่น ติธา วิภชึสุ = แบ่งแล้ว โดยส่วนสาม

ศัพท์บาลี --->>ตินฺต-->> คำแปล --->>ก. ชุ่มแล้ว ตม ธาตุ ในความเปียก, ความชุ่ม + ต ปัจจัย แปลง ต เป็น นฺต ลบ ม ที่สุดธาตุ ได้รูปเป็น ตินฺต ดู อกิลนฺต

ศัพท์บาลี --->>ติปิฏกธร-->> คำแปล --->>ว. ผู้ทรงไว้ซึ่งปิฎกสาม ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ติปิฏกธโร (อุปาสโก) อ. อุบาสก ผู้ทรงไว้ซึ่งปิฎกสาม เป็นทุติยาตัปปุริส สมาส มีสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทิคุ.วิ. ตีณิ ปิฏกานิ = ติปิฏกํ ทุ.ตัป.วิ. ติปิฏกํ ธโร = ติปิฏกธโร (อุปาสโก)

ศัพท์บาลี --->>ติพฺพ-->> คำแปล --->>ว. กล้า, แข็ง, คม อิต. แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. ติพฺพา (เวทนา) อ. เวทนา อันกล้า

ศัพท์บาลี --->>ติมิรปุญฺช-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ก้อนแห่งหมอก แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ติมิรปุญฺโช อ. ก้อนแห่งหมอก เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ติมิรสฺส ปุญฺโช = ติมิรปุญฺโช

ศัพท์บาลี --->>ติรจฺฉาน-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สัตว์ดิรัจฉาน แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ติรจฺฉาโน อ. สัตว์ดิรัจฉาน

ศัพท์บาลี --->>ติรจฺฉานคต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สัตว์ดิรัจฉาน แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. ติรจฺฉานคตา อ. สัตว์ดิรัจฉาน ท. [ติรจฺฉาน + คต, คต ศัพท์เป็นศัพท์สกัด ไม่ต้องแปล]

ศัพท์บาลี --->>ติรจฺฉานโยนิ-->> คำแปล --->>น.,อิต. กำเนิดแห่งสัตว์ดิรัจฉาน แจกเหมือน รตฺติ เช่น ส.เอก. ติรจฺฉานโยนิยํ ในกำเนิดแห่งสัตว์ดิรัจฉาน เป็นฉัฏฐีตัปปุริส สมาส วิ.ว่า ติรจฺฉานสฺส โยนิ = ติรจฺฉานโยนิ

ศัพท์บาลี --->>ติริยํ-->> คำแปล --->>นิ. ขวาง เช่น ติริยํ นิปชฺชิ = นอนแล้ว ขวาง

ศัพท์บาลี --->>ติลกาหตคตฺต-->> คำแปล --->>ว. มีตัวอันต่อมไฝกำจัดทั่ว แล้ว อิต. แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.เอก. ติลกาหตคตฺตํ (อิตฺถึ) ซึ่งหญิง ผู้มีตัวอันต่อม ไฝกำจัดทั่วแล้ว เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส มีตติยาตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ต.ตัป.วิ. ติลเกน อาหตํ = ติลกาหตํ (คตฺตํ) [ติลก = ต่อมไฝ, กระ, ขี้แมลงวัน ปุ., คตฺต = ตัว,กาย นปุ.] ฉ.ตุล.วิ. ติลกาหตํ คตฺตํ ยสฺสา สา ติลกาหตคตฺตา (อิตฺถี) ตัว ของหญิงใด อันต่อมไฝกำจัดทั่วแล้ว หญิงนั้น ชื่อว่าผู้มีตัวอันต่อมไฝกำจัดทั่วแล้ว

ศัพท์บาลี --->>ติลกฺขณ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ลักษณะสาม แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. ติลกฺขณํ สู่ลักษณะสาม เป็น สมาหารทิคุสมาส วิ.ว่า ตีณิ ลกฺขณานิ = ติลกฺขณํ

ศัพท์บาลี --->>ติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิตวตฺถจฺฉาทนาทิปุณฺณานิ> คำแปล --->>/>ว.,นปุ. (สกฏสตานิ) อ. ร้อยแห่งเกวียน ท. อันเต็มแล้วด้วยวัตถุมีงาและข้าวสารและ เนยใสและนํ้าอ้อยและผ้าเป็นเครื่องปกปิด เป็นต้น เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีวิเสสนุตตรบท กัมมธารยสมาส และสมาหารทวันทวสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.นุต. กัม.วิ. วตฺถํ ฉาทนํ = วตฺถจฺฉาทนํ [ซ้อน จฺ] ส.ทวัน.วิ. ติลญฺจ ตณฺฑุโล จ สปฺปิ จ ผาณิตญฺจ วตฺถจฺฉาทนญฺจ = ติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิต วตฺถจฺฉาทนํ ฉ.ตุล.วิ. ติลตณฺฑุลสปฺปิ ผาณิตวตฺถจฺฉาทนํ อาทิ เยสํ ตานิ ติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิตวตฺถจฺฉาทนาทีนิ (วตฺถูนิ) ต.ตัป.วิ. ติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิต วตฺถจฺฉาทนานํ (วตฺถูนํ) ปุณฺณานิ = ติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิตวตฺถจฺฉาทนาทิปุณฺณานิ (สกฏสตานิ) ดู อสฺสุปุณฺณ

ศัพท์บาลี --->>ติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิตาทีนิ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (วตฺถูนิ) อ. วัตถุ ท. มีงาและข้าวสารและเนยใสและ นํ้าอ้อยเป็นต้น เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส มีสมาหารทวันทวสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทวัน.วิ. ติลญฺจ ตณฺฑุโล จ สปฺปิ จ ผาณิตญฺจ = ติลตณฺฑุลสปฺปิ ผาณิตํ ฉ.ตุล.วิ. ติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิตํ อาทิ เยสํ ตานิ ติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิตาทีนิ (วตฺถูนิ) แจกเหมือน อกฺขิ

ศัพท์บาลี --->>ติลสงฺคุลิกา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ขนมแดกงา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. ติลสงฺคุลิกา อ. ขนมแดกงา

ศัพท์บาลี --->>ติวสฺสิก-->> คำแปล --->>ว. อัน…เก็บไว้แล้วตลอดปีสาม นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. ติวสฺสิกํ (ภตฺตํ) อ. ภัต อัน…เก็บไว้แล้วตลอดปีสาม ลง ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต มีอสมาหารทิคุสมาส เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. ตีณิ วสฺสานิ = ติวสฺสานิ ณิก.ตรตฺยา.วิ. ติวสฺสานิ อุจฺจิตํ = ติวสฺสิกํ (ภตฺตํ)

ศัพท์บาลี --->>ติสฺส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ติสสะ แจกเหมือน ปุริส เช่น อา.เอก. ติสฺส ดูก่อนติสสะ

ศัพท์บาลี --->>ติสฺสกุมาร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กุมารชื่อว่าติสสะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ฉ.เอก. ติสฺสกุมารสฺส แห่งกุมารชื่อว่า ติสสะ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า ติสฺโส กุมาโร = ติสฺสกุมาโร

ศัพท์บาลี --->>ติสฺสตฺเถร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระเถระชื่อว่าติสสะ แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ติสฺสตฺเถโร อ. พระเถระ ชื่อว่าติสสะ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า ติสฺโส เถโร = ติสฺสตฺเถโร [ซ้อน ตฺ]

ศัพท์บาลี --->>ติสฺสตฺเถรวตฺถุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งพระเถระ ชื่อว่าติสสะ แจกเหมือน วตฺถุ เป็นฉัฏฐีตัปปุริส สมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม. วิ. ติสฺโส เถโร = ติสฺสตฺเถโร [ซ้อน ตฺ] ฉ.ตัป.วิ. ติสฺสตฺเถรสฺส วตฺถุ = ติสฺสตฺเถรตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>ติสฺสภิกฺขุ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ภิกษุชื่อว่าติสสะ แจกเหมือน ครุ เช่น ฉ.เอก. ติสฺสภิกฺขุโน แห่งภิกษุชื่อว่าติสสะ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า ติสฺโส ภิกฺขุ = ติสฺสภิกฺขุ

ศัพท์บาลี --->>ติสฺสสามเณร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สามเณรชื่อว่าติสสะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ติสฺสสามเณโร อ. สามเณรชื่อว่าติสสะ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า ติสฺโส สามเณโร = ติสฺสสามเณโร

ศัพท์บาลี --->>ติสฺโส-->> คำแปล --->>๑ ว.,อิต. สาม ศัพท์เดิมเป็น ติ อิ การันต์ในอิตถีลิงค์ ลง โย ปฐมาวิภัตติและทุติยาวิภัตติ แปลง ติ กับ โย เป็น ติสฺโส เช่น ติสฺโส (อิตฺถิโย) อ. หญิง ท. สาม, ซึ่งหญิง ท. สาม

ศัพท์บาลี --->>ติสฺโส-->> คำแปล --->>๒ ว.,ปุ. ติสสะ (พระนามของพระพุทธเจ้า) แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ติสฺโส (พุทฺโธ) อ. พระพุทธเจ้า พระนามว่าติสสะ

ศัพท์บาลี --->>ติโยชนสตปริมณฺฑล-->> คำแปล --->>ว.,ปุ.(ต้นแคฝอย) อันมี ร้อยแห่งโยชน์สามเป็นปริมณฑล แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. ติโยชนสตปริมณฺฑโล (ปาริจฺฉตฺตโก) อ. ต้นแคฝอย อันมีร้อยแห่งโยชน์ สามเป็นปริมณฑล เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพ พิหิสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส และอสมาหาร ทุคิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. โยชนานํ สตานิ = โยชนสตานิ อ.ทิคุ.วิ. ตีณิ โยชนสตานิ = ติโยชนสตานิ ฉ.ตุล.วิ. ติโยชนสตานิ ปริมณฺฑลานิ ยสฺส โส ติโยชนสตปริมณฺฑโล (ปาริจฺฉตฺตโก) ร้อยแห่งโยชน์สาม ท. เป็นปริมณฑล ของต้น แคฝอยใด ต้นแคฝอยนั้น ชื่อว่าอันมีร้อยแห่ง โยชน์สามเป็นปริมณฑล

ศัพท์บาลี --->>ติโยชนสติก-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (อเวจี) อันประกอบด้วยร้อย แห่งโยชน์สาม แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. ติโยชนสติเก (อวีจมฺหิ) ในอเวจี อันประกอบ ด้วยร้อยแห่งโยชน์สาม ลง ณิก ปัจจัย ใน ตรตฺยาทิตัทธิต มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส และอสมา หารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. โยชนานํ สตานิ = โยชนสตานิ อ.ทิคุ.วิ. ตีณิ โยชนสตานิ = ติโยชนสตานิ ณิก.ตรตฺยา.วิ. ติโยชนสเตหิ นิยุตฺโต = ติโยชนสติโก (อวีจิ)

ศัพท์บาลี --->>ติโยชนสตุพฺเพธ-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (ธง) อันมีร้อยแห่งโยชน์ สามเป็นส่วนสูง แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.พหุ. ติโยชนสตุพฺเพเธหิ (ธเชหิ) ด้วยธง ท. อันมี ร้อยแห่งโยชน์สามเป็นส่วนสูง เป็นฉัฏฐีตุลยาธิ กรณพหุพพิหิสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส และ อสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตาม ลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. โยชนานํ สตานิ = โยชนสตานิ อ.ทิคุ.วิ. ตีณิ โยชนสตานิ = ติโยชนสตานิ ฉ.ตุล.วิ. ติโยชนสตานิ อุพฺเพธา เยสํ เต ติโยชนสตุพฺเพธา (ธชา) ร้อยแห่งโยชน์สาม ท. เป็นส่วนสูง ของธง ท. เหล่าใด ธง ท. เหล่านั้น ชื่อว่าอันมีร้อยแห่งโยชน์ สามเป็นส่วนสูง

ศัพท์บาลี --->>ติโรกุฑฺฑานุโมทนา-->> คำแปล --->>น.,อิต. การอนุโมทนาด้วย ติโรกุฑฑสูตร แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.เอก. ติโรกุฑฺฑานุโมทนํ ซึ่งการอนุโมทนาด้วย ติโรกุฑฑสูตร เป็นตติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า ติโรกุฑฺเฑน อนุโมทนา = ติโรกุฑฺฑานุโมทนา


คำศัทพ์