ศัพท์บาลี --->>จ-->> คำแปล --->>นิ. ก็, ส่วนว่า, จริงอยู่, ด้วย เป็นนิบาตสำหรับ ผูกศัพท์และประโยคมีอัตถะเป็นอเนก แปลว่า “ก็” เช่น อนฺตรามคฺเค จ อมนุสฺสปริคฺคหิตา อฏวี อตฺถิ = ก็ อ. ดง อันอันอมนุษย์ถือเอารอบแล้ว มีอยู่ ในระหว่างแห่งทนทาง [ธ. ๑: จกฺขุปาล- หน้า ๑๒], แปลว่า “ส่วนว่า” เช่น เย จ ตตฺถ วิชานนฺติ = ส่วนว่า อ. ชน ท. เหล่าใด ในหมู่นั้น ย่อมรู้แจ้ง [ธ. ๑: โกสมฺพิกวตฺถุ หน้า ๖๐], แปลว่า “จริงอยู่” เช่น พุทฺธา จ นาม = จริงอยู่ ชื่อ อ. พระพุทธเจ้า ท. [ธ. ๑: จกฺขุปาล- หน้า ๘], แปลว่า “ด้วย” เช่น อกฺขีนิ เจว กิเลสา จ = อ. นัยน์ตา ท. ด้วย อ. กิเลส ท. ด้วย [ธ. ๑: จกฺขุปาล- หน้า ๑๑]

ศัพท์บาลี --->>จกฺก-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ล้อ แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จกฺกํ อ. ล้อ

ศัพท์บาลี --->>จกฺกงฺกิตตล-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (ฝ่ามือ) อันมีพื้นอันดาดาษ แล้วด้วยจักร แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. จกฺกงฺกิตตเลน (ปาณินา) ด้วยฝ่ามือ อันมีพื้น อันดาดาษแล้วด้วยจักร เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณ พหุพพิหิสมาส มีตติยาตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ต.ตัป.วิ. จกฺเกน กิตํ = จกฺกงฺกิตํ (ตลํ) [ซ้อน งฺ หน้า กิต] ฉ.ตุล.วิ. จกฺกงฺกิตํ ตลํ ยสฺส โส จกฺกงฺกิตตโล (ปาณิ) พื้น ของฝ่ามือใด ดาดาษแล้วแล้วจักร ฝ่ามือนั้น ชื่อว่ามีพื้นอันดาดาษแล้วด้วยจักร

ศัพท์บาลี --->>จกฺกธุปน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. พนมแห่งจักร แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จกฺกธุปนํ อ. พนมแห่งจักร เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จกฺกสฺส ธุปนํ = จกฺกธุปนํ

ศัพท์บาลี --->>จกฺกปาท-->> คำแปล --->>น.,ปุ. รอยแห่งล้อ แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. จกฺกปาเท ในรอยแห่งล้อ เป็นฉัฏฐีตัปปุริส สมาส วิ.ว่า จกฺกสฺส ปาโท = จกฺกปาโท

ศัพท์บาลี --->>จกฺกมคฺค-->> คำแปล --->>น.,ปุ. หนทางแห่งล้อ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จกฺกมคฺเค ในหนทางแห่งล้อ เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จกฺกสฺส มคฺโค = จกฺกมคฺโค

ศัพท์บาลี --->>จกฺกมตฺต-->> คำแปล --->>ว. อันมีล้อเป็นประมาณ แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จกฺกมตฺตํ (มหาปทุมํ) อ. ดอกปทุม ใหญ่ อันมีล้อเป็นประมาณ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณ พหุพพิหิสมาส วิ.ว่า จกฺกํ มตฺตํ ยสฺส ตํ จกฺกมตฺตํ (มหาปทุมํ) ล้อ เป็นประมาณ ของดอกปทุมใหญ่ใด ดอกปทุมใหญ่นั้น ชื่อว่าอันมีล้อเป็นประมาณ

ศัพท์บาลี --->>จกฺกยุค-->> คำแปล --->>น.,นปุ. คู่แห่งล้อ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. จกฺกยุคํ ซึ่งคู่แห่งล้อ เป็นฉัฏฐีตัปปุริส สมาส วิ.ว่า จกฺกานํ ยุคํ = จกฺกยุคํ

ศัพท์บาลี --->>จกฺกวตฺติ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระเจ้าจักรพรรดิ แจกเหมือน มุนิ เช่น ป.เอก. จกฺกวตฺติ อ. พระเจ้าจักรพรรดิ

ศัพท์บาลี --->>จกฺกวตฺติราช-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระราชาผู้จักรพรรดิ แจก เหมือน ราช เช่น ฉ.เอก. จกฺกวตฺติรญฺโญ แห่ง พระราชาผู้จักรพรรดิ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธาร ยสมาส วิ.ว่า จกฺกวตฺติ ราชา = จกฺกวตฺติราชา

ศัพท์บาลี --->>จกฺกวตฺติสิริ-->> คำแปล --->>น.,อิต. สิริของพระะเจ้าจักรพรรดิ แจกเหมือน รตฺติ เช่น ทุ.เอก. จกฺกวตฺติสิรึ ซึ่ง สิริของพระะเจ้าจักรพรรดิ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จกฺกวตฺติโน สิริ = จกฺกวตฺติสิริ

ศัพท์บาลี --->>จกฺกวาฬ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. จักรวาล แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จกฺกวาฬํ อ. จักรวาล

ศัพท์บาลี --->>จกฺกวาฬมุขวฏฺฏิ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ขอบแห่งปากแห่ง จักรวาล แจกเหมือน รตฺติ เช่น ส.เอก. จกฺกวาฬ มุขวฏฺฏิยํ ที่ขอบแห่งปากแห่งจักรวาล เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. จกฺกวาฬสฺส มุขํ = จกฺกวาฬมุขํ ฉ.ตัป.วิ. จกฺกวาฬมุขสฺส วฏฺฏิ = จกฺกวาฬมุขวฏฺฏิ

ศัพท์บาลี --->>จกฺกวาฬสต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ร้อยแห่งจักรวาล ดู อตฺต-ภาวสต

ศัพท์บาลี --->>จกฺกวาฬสหสฺส-->> คำแปล --->>น.,นปุ. พันแห่งจักรวาล ดู อตฺตภาวสหสฺส

ศัพท์บาลี --->>จกฺกาทีนิ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (อุปกรณานิ) อ. อุปกรณ์ ท. มีล้อ เป็นต้น เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า จกฺกํ อาทิ เยสํ ตานิ จกฺกาทีนิ (อุปกรณานิ) ล้อ เป็นต้น ของอุปกรณ์ ท. เหล่าใด อุปกรณ์ ท. เหล่านั้น ชื่อว่ามีล้อเป็นต้น แจกเหมือน อกฺขิ

ศัพท์บาลี --->>จกฺกเภท-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อัน (การ) ทำลายซึ่งสงฆ์ แจก เหมือน ปุริส เช่น จ.เอก. จกฺกเภทาย เพื่ออัน ทำลายซึ่งสงฆ์ เป็นทุติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จกฺกํ เภโท = จกฺกเภโท

ศัพท์บาลี --->>จกฺขุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. จักษุ แจกเหมือน วตฺถุ เช่น ป.พหุ. จกฺขูนิ อ. จักษุ ท.

ศัพท์บาลี --->>จกฺขุทุพฺพล-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีจักษุมีกำลังอันโทษประทุษร้าย แล้ว อิต. แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.เอก. จกฺขุ- ทุพฺพลํ (อิตฺถึ) ซึ่งหญิง ผู้มีจักษุมีกำลังอันโทษ ประทุษร้ายแล้ว เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. ทุฏฺ พลํ ยสฺส ตํ ทุพฺพลํ (จกฺขุ) กำลัง ของจักษุใด อันโทษประทุษร้ายแล้ว จักษุนั้น ชื่อว่ามีกำลัง อันโทษประทุษแล้ว [ซ้อน พฺ หน้า พล, ทุ ในรูป วิเคราะห์ ใช้ ทุฏฺ แทน] ฉ.ตุล.วิ. ทุพฺพลํ จกฺขุ ยสฺสา สา จกฺขุทุพฺพลา (อิตฺถี) จักษุ ของหญิงใด มีกำลังอันโทษประทุษแล้ว หญิงนั้น ชื่อว่ามีจักษุ มีกำลังอันโทษประทุษแล้ว

ศัพท์บาลี --->>จกฺขุปถ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. คลองแห่งจักษุ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. จกฺขุปถํ ซึ่งคลองแห่งจักษุ เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จกฺขูนํ ปโถ = จกฺขุปโถ

ศัพท์บาลี --->>จกฺขุปาล-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. จักขุบาล (ชื่อของพระเถระ) แจก เหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. จกฺขุปาลํ (เถรํ) ซึ่ง พระเถระชื่อว่าจักขุบาล

ศัพท์บาลี --->>จกฺขุปาลตฺเถร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระเถระชื่อว่าจักขุบาล แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จกฺขุปาลตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่าจักขุบาล เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า จกฺขุปาโล เถโร = จกฺขุ- ปาลตฺเถโร [ซ้อน ตฺ]

ศัพท์บาลี --->>จกฺขุปาลตฺเถรวตฺถุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งพระเถระ ชื่อว่าจักขุบาล แจกเหมือน วตฺถุ เป็นฉัฏฐีตัปปุริส สมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. จกฺขุปาโล เถโร = จกฺขุปาลตฺเถโร [ซ้อน ตฺ] ฉ.ตัป.วิ. จกฺขุปาลตฺเถรสฺส วตฺถุ = จกฺขุ- ปาลตฺเถรวตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>จกฺขุม-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้มีจักษุ แจกเหมือน ภควนฺตุ ศัพท์ เดิมเป็น จกฺขุมนฺตุ อุ การันต์ ในปุงลิงค์ ลง สิ อาลปนะวิภัตติ ที่ยืมมาจากปฐมาวิภัตติ ฝ่ายเอก วจนะ แปลง นฺตุ กับ สิ เป็น อ สำเร็จรูปเป็น จกฺขุม

ศัพท์บาลี --->>จกฺขุวิกลกาล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กาลแห่งตนมีจักษุอันวิกล แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. จกฺขุวิกลกาเล ใน กาลแห่งตนมีจักษุอันวิกล เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. จกฺขุ วิกลํ ยสฺส โส จกฺขุวิกโล (อตฺตา) ฉ.ตัป.วิ. จกฺขุวิกลสฺส กาโล = จกฺขุวิกลกาโล

ศัพท์บาลี --->>จงฺกมติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เถโร อ. พระเถระ) ย่อมจงกรม กม ธาตุ ในความก้าวไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ เทฺวภาวะ ก ขึ้นมาหน้า กม ธาตุ เป็น กกมติ ลงนิคคหิตอาคมที่ ก พยัญชนะ อัพภาส เป็น กํกมติ แปลง ก พยัญชนะอัพภาสเป็น จ แปลงนิคคหิตเป็น งฺ เพราะ ก อยู่หลัง สำเร็จรูป เป็น จงฺกมติ

ศัพท์บาลี --->>จงฺกมน-->> คำแปล --->>น. เป็นที่จงกรม นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. จงฺกมเน (าเน) ในที่ เป็นที่จงกรม

ศัพท์บาลี --->>จงฺกมนฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่เป็นที่จงกรม แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. จงฺกมนฏฺานํ ซึ่งที่เป็นที่จงกรม เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ.วิ. จงฺกมติ เอตฺถาติ จงฺกมนํ (านํ) พระเถระ ย่อมจงกรม ในที่นั่น เหตุนั้น ที่นั่น ชื่อว่า จงฺกมนํๆ เป็นที่จงกรม วิ.บุพ. กัม.วิ. จงฺกมนํ านํ = จงฺกมนฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ]

ศัพท์บาลี --->>จงฺกมนนิสีทนฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่เป็นที่จงกรมและ เป็นที่นั่ง แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. จงฺกมน- นิสีทนฏฺานํ ซึ่งที่เป็นที่จงกรมและที่เป็นที่นั่ง เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ.วิ. จงฺกมติ จ นิสีทติ จ เอตฺถาติ จงฺกมนนิสีทนํ (านํ) พระเถระ ย่อม จงกรมด้วย ย่อมนั่งด้วย ในที่นั่น เหตุนั้น ที่นั่น ชื่อว่า จงฺกมนนิสีทนํๆ เป็นที่จงกรมและเป็นที่นั่ง วิ.บุพ.กัม.วิ. จงฺกมนนิสีทนํ านํ = จงฺกมน- นิสีทนฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ]

ศัพท์บาลี --->>จงฺกมนสต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ร้อยแห่งที่เป็นที่จงกรม ดู อตฺตภาวสต

ศัพท์บาลี --->>จงฺกมนฺต-->> คำแปล --->>ก. จงกรมอยู่ กม ธาตุ ในความก้าวไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย เทฺวภาวะ ก ขึ้นมาหน้า กม ธาตุ เป็น กกมนฺต ลง นิคคหิตอาคมที่ ก พยัญชนะอัพภาส เป็น กํกมนฺต แปลง ก พยัญชนะอัพภาสเป็น จ แปลงนิคคหิตเป็น งฺ เพราะ ก อยู่หลัง ได้รูปเป็น จงฺกมนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>จงฺกมนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ปุริสา อ. บุรุษ ท.) ย่อมเดินวน กม ธาตุ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานา วิภัตติ ดู จงฺกมติ

ศัพท์บาลี --->>จงฺกมนโกฏิ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ที่สุดแห่งที่เป็นที่จงกรม แจก เหมือน รตฺติ เช่น ส.เอก. จงฺกมนโกฏิยํ ในที่สุด แห่งที่เป็นที่จงกรม เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จงฺกมนสฺส โกฏิ = จงฺกมนโกฏิ

ศัพท์บาลี --->>จงฺกมมาน-->> คำแปล --->>ก. จงกรมอยู่, เดินวนอยู่ กม ธาตุ ในความก้าวไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + มาน ปัจจัย เทฺวภาวะ ก ขึ้นมาหน้า กม ธาตุ เป็น กกมมาน ลงนิคคหิตอาคมที่ ก พยัญชนะ อัพภาส เป็น กํกมมาน แปลง ก พยัญชนะ อัพภาสเป็น จ แปลงนิคคหิตเป็น งฺ เพราะ ก อยู่หลัง ได้รูปเป็น จงฺกมมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>จงฺกมามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) จะจงกรม กม ธาตุ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + มิ วัตตมานาวิภัตติ มิ อยู่หลัง ทีฆะ อ ที่สุดธาตุ เป็น อา ดู จงฺกมติ

ศัพท์บาลี --->>จงฺกมิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เถโร อ. พระเถระ) จงกรมแล้ว กม ธาตุ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ รัสสะ อี เป็น อิ ดู จงฺกมติ

ศัพท์บาลี --->>จงฺกมิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. จงกรมแล้ว กม ธาตุ + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม ดู จงฺกมติ

ศัพท์บาลี --->>จชนฺต-->> คำแปล --->>ก. เมื่อสละ, สละอยู่ จช ธาตุ ในความสละ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก+ อนฺต ปัจจัย ได้รูปเป็น จชนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>จณฺฑ-->> คำแปล --->>ว. ดุร้าย ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. จณฺฑา (ราชาโน) อ. พระราชา ท. ผู้ดุร้าย อิต. แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. จณฺฑา (ทีปินี) อ. แม่เสือเหลือง ตัวดุร้าย นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จณฺฑํ (โสตํ) อ. กระแส อันเชี่ยว (อันดุร้าย)

ศัพท์บาลี --->>จณฺฑปชฺโชต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระเจ้าจัณฑปัชโชต แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จณฺฑปชฺโชโต อ. พระเจ้าจัณฑปัชโชต

ศัพท์บาลี --->>จณฺฑาล-->> คำแปล --->>น.,นปุ. คนจัณฑาล แจกเหมือน ปุริส เช่น ฉ.พหุ. จณฺฑาลานํ แห่งคนจัณฑาล ท.

ศัพท์บาลี --->>จณฺฑาลกุลสหสฺส-->> คำแปล --->>น.,นปุ. พันแห่งตระกูลแห่งคน จัณฑาล แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จณฺฑาล กุลสหสฺสํ อ. พันแห่งตระกูลแห่งคนจัณฑาล เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. จณฺฑาลานํ กุลานิ = จณฺฑาลกุลานิ ฉ.ตัป.วิ. จณฺฑาลกุลานํ สหสฺสํ = จณฺฑาลกุลสหสฺสํ

ศัพท์บาลี --->>จณฺฑาลี-->> คำแปล --->>น.,อิต. หญิงจัณฑาล แจกเหมือน นารี เช่น ป.เอก. จณฺฑาลี อ. หญิงจัณฑาล

ศัพท์บาลี --->>จณฺฑิกฺกํ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ดุร้าย ลง กณฺ ปัจจัย ในภาวตัทธิต วิ.ว่า จณฺฑสฺส (ปุคฺคลสฺส) ภาโว = จณฺฑิกฺกํ แจกเหมือน กุล เฉพาะฝ่ายเอกวจนะ คำว่า จณฺฑิกฺกํ มาจาก จณฺฑ ศัพท์ + กณฺ ปัจจัย แปลง อ ที่ ฑ เป็น อิ ลบ ณฺ เหลือไว้แต่ ก ซ้อน กฺ เป็น จณฺฑิกฺก ลง สิ ปฐมาวิภัตติ แปลง อ กับ สิ เป็น อํ สำเร็จรูป เป็น จณฺฑิกฺกํ

ศัพท์บาลี --->>จณฺฑโสตตีร-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ฝั่งแห่งแม่นํ้ามีกระแสเชี่ยว แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. จณฺฑโสตตีเร ใกล้ฝั่ง แห่งแม่นํ้ามีกระแสเชี่ยว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. จณฺฑํ โสตํ ยสฺสา สา จณฺฑโสตา (นที) ฉ.ตัป.วิ. จณฺฑโสตาย (นทิยา) ตีรํ = จณฺฑโสตตีรํ

ศัพท์บาลี --->>จตุ-->> คำแปล --->>ว. สี่ เป็นพหุวจนะ แจกได้ใน ๓ ลิงค์ ปุ. เช่น ป. จตฺตาโร (ปุริสา) อ. บุรุษ ท. สี่ อิต. เช่น ป. จตสฺโส (อิตฺถิโย) อ. หญิง ท. สี่ นปุ. เช่น ป. จตฺตาริ (อริยสจฺจานิ) อ. อริยสัจ ท. สี่

ศัพท์บาลี --->>จตุกฺก-->> คำแปล --->>ว. มีประมาณสี่, มีปริมาณสี่ นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. จตุกฺเก (ปหรเณ) ในเพราะการเฆี่ยน มีประมาณ (ปริมาณ) สี่ ลง ก ปัจจัยในสังขยา ตัทธิต วิ.ว่า จตฺตาริ ปริมาณานิ อสฺสาติ จตุกฺกํ (ปหรณํ) ปริมาณ ท. ของการเฆี่ยนนั้น สี่ เหตุนั้น การเฆี่ยนนั้น ชื่อว่ามีปริมาณสี่

ศัพท์บาลี --->>จตุกฺขตฺตุ-->> คำแปล --->>นิ. สิ้นสี่ครั้ง เป็นนิบาตมีเนื้อความต่างๆ เช่น จตุกฺขตฺตุ … ทินฺนกาเล ในกาลแห่งขนม ท. อันมารดาของนางกาณา ถวายแล้ว สิ้นสี่ครั้ง [ธ. ๔: กาณมาตาวตฺถุ หน้า ๔๐]

ศัพท์บาลี --->>จตุตฺถ-->> คำแปล --->>ว. ที่สี่ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เฉพาะฝ่าย เอกวจนะ เช่น ป.เอก. จตุตฺโถ (สทฺโท) อ. เสียง ที่สี่ อิต. เป็น จตุตฺถี แจกเหมือน นารี เช่น จตุตฺถี (ติถิ) อ. ดิถี ที่สี่ เป็น จตุตฺถา แจกเหมือน กญฺญา เช่น จตุตฺถา (ธีตา) อ. ธิดา คนที่สี่ นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น จตุตฺถํ (วตฺถุ) อ. เรื่อง ที่สี่

ศัพท์บาลี --->>จตุตฺถชฺฌาน-->> คำแปล --->>๑ น.,นปุ. จตุตถฌาน แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. จตุตฺถชฺฌานํ ซึ่งจตุตถฌาน

ศัพท์บาลี --->>จตุตฺถชฺฌาน-->> คำแปล --->>๒ น.,นปุ. ฌานที่สี่ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. จตุตฺถชฺฌานํ ซึ่งฌานที่สี่ เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า จตุตฺถํ ฌานํ = จตุตฺถชฺฌานํ [ซ้อน ชฺ]

ศัพท์บาลี --->>จตุตฺถทฺวารโกฏฺก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ซุ้มแห่งประตูที่สี่ แจก เหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. จตุตฺถทฺวารโกฏฺเก ที่ซุ้มแห่งประตูที่สี่ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มี วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. จตุตฺถํ ทฺวารํ = จตุตฺถทฺวารํ ฉ.ตัป.วิ. จตุตฺถทฺวารสฺส โกฏฺโก = จตุตฺถทฺวารโกฏฺโก

ศัพท์บาลี --->>จตุตฺถวาร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. วาระที่สี่ แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. จตุตฺถวาเร ในวาระที่สี่ เป็นวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า จตุตฺโถ วาโร = จตุตฺถวาโร

ศัพท์บาลี --->>จตุตฺถสทฺท-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เสียงที่สี่ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จตุตฺถสทฺโท อ. เสียงที่สี่ เป็นวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า จตุตฺโถ สทฺโท = จตุตฺถสทฺโท

ศัพท์บาลี --->>จตุทฺทส-->> คำแปล --->>ว. สิบสี่ เป็นได้ทั้ง ๓ ลิงค์ แจกเหมือน ปญฺจ

ศัพท์บาลี --->>จตุทฺทิส-->> คำแปล --->>ว. อันมีในทิศสี่ ลง ณ ปัจจัยในราคาทิตัทธิต มีสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. จตุทฺทิสา (คามา) อ. บ้าน ท. อันมีในทิศสี่ [ธ. ๓: สฏฺกูฏเปตวตฺถุ หน้า ๑๖๑] ส.ทิคุ.วิ. จตสฺโส ทิสา = จตุทฺทิสํ ณ.ราคา.วิ. จตุทฺทิเส ภวา = จตุทฺทิสา (คามา) บ้าน ท. อันมี ในทิศสี่ ชื่อว่า จตุทฺทิสาๆ อันมีในทิศสี่ อิต. แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. จตุทฺทิสา (อารกฺขา) อ. การอารักขา อันมีในทิศสี่ [ธ. ๔: ปณฺฑิตสามเณรวตฺถุ หน้า ๓๘] ส.ทิคุ.วิ. จตสฺโส ทิสา = จตุทฺทิสํ ณ.ราคา.วิ. จตุทฺทิเส ภวา = จตุทฺทิสา (อารกฺขา) การอารักขา อันมี ในทิศสี่ ชื่อว่า จตุทฺทิสาๆ อันมีในทิศสี่

ศัพท์บาลี --->>จตุทฺทิสา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ทิศสี่ เช่น ทุ.พหุ. จตุทฺทิสา ซึ่งทิศสี่ ท. เป็นอสมาหารทิคุสมาส วิ.ว่า จตสฺโส ทิสา = จตุทฺทิสา ทิศสี่ ท. [ซ้อน ทฺ] แจกเหมือน กญฺญา เฉพาะฝ่ายพหุวจนะ

ศัพท์บาลี --->>จตุทฺทิสํ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ในทิศสี่ ศัทพ์เดิมเป็น จตุทฺทิส อ การันต์ในนปุงลิงค์ ลง สฺมึ สัตตมีวิภัตติ ฝ่าย เอกวจนะ แปลง สฺมึ เป็น อํ สำเร็จรูปเป็น จตุทฺทิสํ เป็นสมาหารทิคุสมาส วิ.ว่า จตสฺโส ทิสา = จตุทฺทิสํ ทิศ ท. สี่ ชื่อว่าทิศสี่ [ซ้อน ทฺ] แจก เหมือน กุล เฉพาะฝ่ายเอกวจนะ

ศัพท์บาลี --->>จตุปญฺจนาฬิมตฺต-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (ข้าวเปลือก) อันมี ทะนานสี่และทะนานห้าเป็นประมาณ แจก เหมือน กุล เช่น ป.เอก. จตุปญฺจนาฬิมตฺตํ (ธญฺญ) อ. ข้าวเปลือก อันมีทะนานสี่และทะนานห้า เป็นประมาณ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีอสมาหาร ทิคุสมาส อสมาหารทิคุสมาส และอสมาหารทวัน ทวสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. จตสฺโส นาฬิโย = จตุนาฬิโย อ.ทิคุ.วิ. ปญฺจ นาฬิโย = ปญฺจนาฬิโย อ.ทวัน.วิ. จตุนาฬิโย จ ปญฺจนาฬิโย จ = จตุปญฺจนาฬิโย [ลบ นาฬิ ศัพท์หน้า] ฉ.ตุล.วิ. จตุปญฺจนาฬิโย มตฺตา ยสฺส ตํ จตุปญฺจนาฬิมตฺตํ (ธญฺญ) ทะนานสี่และ ทะนานห้า ท. เป็นประมาณ ของข้าวเปลือกใด ข้าวเปลือกนั้น ชื่อว่ามีทะนานสี่และทะนานห้าเป็นประมาณ

ศัพท์บาลี --->>จตุปริสมชฺฌ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ท่ามกลางแห่งบริษัทสี่ แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. จตุปริสมชฺเฌ ใน ท่ามกลางแห่งบริษัทสี่ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. จตสฺโส ปริสา = จตุปริสา ฉ.ตัป.วิ. จตุปริสานํ มชฺฌํ = จตุปริสมชฺฌํ

ศัพท์บาลี --->>จตุปฺปจฺจยทายิกา-->> คำแปล --->>ว.,อิต. ผู้ถวายซึ่งปัจจัยสี่ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ฉ.พหุ. จตุปฺปจฺจยทายิกานํ (อิตฺถีนํ) แห่งหญิง ท. ผู้ถวายซึ่งปัจจัยสี่ ลง ณฺวุ ปัจจัย มีอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. จตฺตาโร ปจฺจยา = จตุปฺปจฺจยา ณฺวุ.กัต.กัต.วิ. จตุปฺปจฺจเย เทนฺตีติ จตุปฺปจฺจยทายิกา (อิตฺถิโย) หญิง ท. เหล่าใด ย่อมถวาย ซึ่งปัจจัยสี่ ท. เหตุนั้น หญิง ท. เหล่านั้น ชื่อว่า จตุปฺปจฺจยทายิกาๆ ผู้ถวายซึ่งปัจจัยสี่ คำว่า ทายิกา มาจาก ทา ธาตุ ในความให้ + ณฺวุ ปัจจัย แปลง อา แห่ง ทา ธาตุ เป็น อาย แปลง ณฺวุ เป็น อก อิตถีลิงค์ ลง อิ อาคม และ อา เครื่องหมายอิตถีลิงค์ ได้รูปเป็น ทายิกา แปลว่า ผู้ให้, ผู้ถวาย เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ

ศัพท์บาลี --->>จตุปฺปญฺญาสชน-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ชนห้าสิบสี่ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.พหุ. จตุปฺปญฺญาสชเน ยังชน ห้าสิบสี่ ท. เป็นอสมาหารทิคุสมาส วิ.ว่า จตุปฺปญฺญาสํ ชนา = จตุปฺปญฺญาสชนา

ศัพท์บาลี --->>จตุปฺปญฺญาสโกฏิธน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ทรัพย์มีโกฏิห้าสิบสี่ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. จตุปฺปญฺญาส-โกฏิธนํ ซึ่งทรัพย์มีโกฏิห้าสิบสี่ เป็นวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพ พิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. จตุปฺปญฺญาสํ โกฏิโย ยสฺส ตํ จตุปฺปญฺญาสโกฏิ (ธนํ) วิ.บุพ.กัม.วิ. จตุปฺปญฺญาสโกฏิ ธนํ = จตุปฺปญฺญาสโกฏิธนํ

ศัพท์บาลี --->>จตุปฺปณฺณาสโกฏิธน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ทรัพย์มีโกฏิ- ห้าสิบสี่ ดู จตุปฺปญฺญาสโกฏิธน

ศัพท์บาลี --->>จตุปฺปทา-->> คำแปล --->>ว. มีบทสี่ อิต. แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.เอก. จตุปฺปทํ (คาถํ) ซึ่งคาถา อันมีบทสี่ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า จตฺตาริ ปทานิ ยสฺสา สา จตุปฺปทา (คาถา) บท ท. ของคาถาใด สี่ คาถานั้น ชื่อว่ามีบทสี่ [บทสมาส ซ้อน ปฺ]

ศัพท์บาลี --->>จตุปฺปทิกา-->> คำแปล --->>ว.,อิต. อันประกอบด้วยบทสี่ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.เอก. จตุปฺปทิกํ (คาถํ) ซึ่งคาถา อันประกอบด้วยบทสี่ ลง ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต มีสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทิคุ.วิ. จตฺตาริ ปทานิ = จตุปฺปทํ ณิก.ตรตฺยา.วิ. จตุปฺปเทน ยุญฺชตีติ จตุปฺปทิกา (คาถา)

ศัพท์บาลี --->>จตุปฺปที-->> คำแปล --->>ว.,อิต. (นางลา) ตัวมีเท้าสี่ แจกเหมือน นารี เช่น ทุ.เอก. จตุปฺปทึ (คทฺรภึ) ซึ่งนางลา ตัวมีเท้าสี่ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า จตฺตาโร ปทา ยสฺสา สา จตุปฺปที (คทฺรภี) เท้า ท. ของนางลาใด สี่ นางลานั้น ชื่อว่าตัวมีเท้าสี่ [บทสมาสซ้อน ปฺ และลง อี เครื่องหมายอิตถีลิงค์]

ศัพท์บาลี --->>จตุพฺภาคมตฺต-->> คำแปล --->>ว. สักว่าส่วนสี่ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. จตุพฺภาคมตฺตํ (ผลํ) ซึ่งผล สักว่าส่วนสี่ เป็นสัมภาวนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทิคุ.วิ. จตฺตาโร ภาคา = จตุพฺภาคํ [ซ้อน พฺ] สัม.บุพ.กัม.วิ. จตุพฺภาคํ อิติ มตฺตํ = จตุพฺภาคมตฺตํ (ผลํ)

ศัพท์บาลี --->>จตุภาค-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ส่วนสี่ ถ้าเป็นเอกวจนะ เช่น ทุ.เอก. จตุภาคํ ซึ่งส่วนสี่ เป็นสมาหารทิคุสมาส วิ.ว่า จตฺตาโร ภาคา = จตุภาคํ แจกเหมือน กุล

ศัพท์บาลี --->>จตุมธุร-->> คำแปล --->>ว. อันอร่อยสี่อย่าง, อันมีรสหวาน สี่อย่าง นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. จตุมธุรํ (วตฺถุ) ซึ่งวัตถุ อันอร่อยสี่อย่าง,อันมีรสหวานสี่อย่าง ลง ร ปัจจัย ในตทัสสัตถิตัทธิต มีสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทิคุ.วิ. จตฺตาริ มธูนิ = จตุมธุ รสหวานสี่อย่าง ร.ตทัส.วิ. จตุมธุ อสฺส อตฺถีติ จตุมธุรํ (วตฺถุ) รสหวานสี่อย่าง ของวัตถุนั้น มีอยู่ เหตุนั้น วัตถุนั้น ชื่อว่ามีรสหวานสี่อย่าง

ศัพท์บาลี --->>จตุรงฺคินี-->> คำแปล --->>ว.,อิต. (เสนา, กองทัพ) อันมีองค์สี่ แจก เหมือน นารี เช่น ต.เอก. จตุรงฺคินิยา (เสนาย) ด้วยเสนา, ด้วยกองทัพ อันมีองค์สี่ ลง อี ปัจจัยในตทัสสัตถิตัทธิต อิตถีลิงค์ แปลง อี เป็น อินี มีสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทิคุ.วิ. จตฺตาริ องฺคานิ = จตุรงฺคํ [สระอยู่หลัง ลง ร อาคม] อี.ตทัส.วิ. จตุรงฺคํ อสฺสา อตฺถีติ จตุรงฺคินี (เสนา) องค์สี่ ของ กองทัพนั้น มีอยู่ เหตุนั้น กองทัพนั้น ชื่อว่ามี องค์สี่ ; องค์ ๔ ของกองทัพ คือ หตฺถานีก = กองทัพช้าง หยานีก = กองทัพม้า รถานีก = กองทัพรถ ปตฺตานีก = กองทัพพลเดินเท้า [เสนา, อนีก = กองทัพ]

ศัพท์บาลี --->>จตุรสฺสมุคฺคร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ค้อนอันมีเหลี่ยมสี่ แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. จตุรสฺสมุคฺคเรน ด้วยค้อนอันมีเหลี่ยมสี่ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. จตฺตาโร อสฺสา ยสฺส โส จตุรสฺโส (มุคฺคโร) เหลี่ยม ท. ของค้อนใด สี่ ค้อนนั้น ชื่อว่ามีเหลี่ยมสี่ [อสฺส = เหลี่ยม, มุม ปุ.] คำว่า จตุรสฺส ตัดเป็น จตุ - อสฺส สระอยู่หลัง ลง ร อาคม ต่อเป็น จตุรสฺส

ศัพท์บาลี --->>จตุราปายสมุทฺท-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สมุทรคืออบายสี่ แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. จตุราปายสมุทฺเท ในสมุทรคืออบายสี่ เป็นอวธารณบุพพบท กัมมธารยสมาส มีสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทิคุ.วิ. จตฺตาโร อปายา = จตุราปายํ [สระอยู่หลัง ลง ร อาคม] อว.บุพ.กัม.วิ. จตุราปายํ เอว สมุทฺโท = จตุราปายสมุทฺโท

ศัพท์บาลี --->>จตุราสีติ-->> คำแปล --->>ว. แปดสิบสี่ เป็นได้ทั้ง ๓ ลิงค์ แจกเหมือน รตฺติ เฉพาะฝ่ายเอกวจนะ แต่ตัวนามต้องเป็นพหุวจนะเท่านั้น เช่น จ. จตุราสีติยา (ปาณสหสฺสานํ) แก่พันแห่งสัตว์ผู้มีปราณะ ท. แปดสิบสี่

ศัพท์บาลี --->>จตุราสีติสหสฺส-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีพันแปดสิบสี่ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. จตุราสีติสหสฺสา (ชฏิลา) อ. ชฎิล ท. ผู้มีพันแปดสิบสี่ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า จตุราสีติ สหสฺสานิ เยสํ เต จตุราสีติสหสฺสา (ชฏิลา) พัน ท. ของชฎิล ท. เหล่าใด แปดสิบสี่ ชฏิล ท. เหล่านั้น ชื่อว่าผู้มีพันแปดสิบสี่

ศัพท์บาลี --->>จตุสตฺตติสหสฺส-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีพันเจ็ดสิบสี่ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. จตุสตฺตติสหสฺสา (ชฏิลา) อ. ชฎิล ท. ผู้มีพันเจ็ดสิบสี่ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณ พหุพพิหิสมาส วิ.ว่า จตุสตฺตติ สหสฺสานิ เยสํ เต จตุสตฺตติสหสฺสา (ชฏิลา) พัน ท. ของ ชฎิล ท. เหล่าใด เจ็ดสิบสี่ ชฏิล ท. เหล่านั้น ชื่อว่าผู้มีพันเจ็ดสิบสี่

ศัพท์บาลี --->>จตุสตฺตติสหสฺสชฏิลา-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อ. ชฎิลผู้มีพันเจ็ด สิบสี่ ท. เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. จตุสตฺตติ สหสฺสานิ เยสํ เต จตุสตฺตติสหสฺสา (ชฏิลา) วิ.บุพ.กัม.วิ. จตุสตฺตติสหสฺสา ชฏิลา = จตุสตฺตติสหสฺสชฏิลา

ศัพท์บาลี --->>จตุสตฺตติสหสฺสมตฺต-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีพันเจ็ดสิบสี่เป็นประมาณ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. จตุสตฺตติสหสฺสมตฺตา (ชฏิลา) อ. ชฎิล ท. ผู้มีพันเจ็ดสิบสี่เป็นประมาณ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ส.ทิคุ.วิ. จตุสตฺตติ สหสฺสานิ = จตุสตฺตติสหสฺสํ ฉ.ตุล.วิ. จตุ- สตฺตติสหสฺสํ มตฺตํ เยสํ เต จตุสตฺตติสหสฺส-มตฺตา (ชฏิลา)

ศัพท์บาลี --->>จตุหตฺถวิตฺถารานิ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (ทุสฺสานิ) อ. ผ้า ท. อันมีศอกสี่เป็นความกว้าง เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. จตฺตาโร หตฺถา = จตุหตฺถา ฉ.ตุล.วิ. จตุหตฺถา วิตฺถารา เยสํ ตานิ จตุหตฺถวิตฺถารานิ (ทุสฺสานิ) ศอกสี่ ท. เป็นความกว้าง ของผ้า ท. เหล่าใด ผ้า ท. เหล่านั้น ชื่อว่ามีศอกสี่เป็นความกว้าง

ศัพท์บาลี --->>จตฺตาฬีส-->> คำแปล --->>ว. สี่สิบ เป็นได้ทั้ง ๓ ลิงค์ แจกเหมือน เอกูนวีส

ศัพท์บาลี --->>จตฺตาฬีสภิกฺขุสหสฺส-->> คำแปล --->>น.,นปุ. พันแห่งภิกษุสี่สิบ แจกเหมือน กุล เช่น ป.พหุ. จตฺตาฬีสภิกฺขุ-สหสฺสานิ อ. พันแห่งภิกษุสี่สิบ ท. เป็นอสมาหารทิคุสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. ภิกฺขูนํ สหสฺสานิ = ภิกฺขุสหสฺสานิ อ.ทิคุ.วิ. จตฺตาฬีสํ ภิกฺขุสหสฺสานิ = จตฺตาฬีสภิกฺขุสหสฺสานิ

ศัพท์บาลี --->>จตฺตาฬีสวสฺสสหสฺสายุก-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (พระพุทธเจ้า) ผู้มีพระชนมายุมีพันแห่งปีสี่สิบ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. จตฺตาฬีสวสฺสสหสฺสายุกํ (พุทฺธํ) ซึ่งพระพุทธเจ้า ผู้มีพระชนมายุมีพันแห่งปีสี่สิบ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส และฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. วสฺสานํ สหสฺสานิ = วสฺสสหสฺสานิ พันแห่งปี ท. ฉ.ตุล.วิ. จตฺตาฬีสํ วสฺสสหสฺสานิ ยสฺส ตํ จตฺตาฬีสวสฺสสหสฺสํ (อายุ) พันแห่งปี ท. ของอายุใด สี่สิบ อายุนั้น ชื่อว่ามีพันแห่งปีสี่สิบ ฉ.ตุล.วิ. จตฺตาฬีสวสฺสสหสฺสํ อายุ ยสฺส โส จตฺตาฬีสวสฺสสหสฺสายุโก (พุทฺโธ) [บทสมาส ลง ก สกัด] พระชนมายุ ของพระพุทธเจ้าใด มีพัน แห่งปีสี่สิบ พระพุทธเจ้านั้น ชื่อว่าผู้มีพระชนมายุ มีพันแห่งปีสี่สิบ

ศัพท์บาลี --->>จตฺตาฬีสโกฏิธน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ทรัพย์อันมีโกฏิสี่สิบ แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จตฺตาฬีสโกฏิธนํ อ. ทรัพย์อันมีโกฏิสี่สิบ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. จตฺตาฬีสํ โกฏิโย ยสฺส ตํ จตฺตาฬีสโกฏิ (ธนํ) วิ.บุพ.กัม.วิ. จตฺตาฬีสโกฏิ ธนํ = จตฺตาฬีสโกฏิธนํ

ศัพท์บาลี --->>จตฺตาฬีสโกฏิธนฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่แห่งทรัพย์อัน มีโกฏิสี่สิบ แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จตฺตาฬีส โกฏิธนฏฺานํ อ. ที่แห่งทรัพย์อันมีโกฏิสี่สิบ เฉพาะปัญจมีวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ ลง โต ปัจจัย เป็น จตฺตาฬีสโกฏิธนฏฺานโต บ้าง เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส และวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. จตฺตาฬีสํ โกฏิโย ยสฺส ตํ จตฺตาฬีสโกฏิ (ธนํ) วิ.บุพ.กัม.วิ. จตฺตาฬีสโกฏิ ธนํ = จตฺตาฬีสโกฏิธนํ ฉ.ตัป.วิ. จตฺตาฬีสโกฏิธนสฺส านํ = จตฺตาฬีสโกฏิธนฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ]

ศัพท์บาลี --->>จตฺตาฬีสโกฏิวิภว-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีสมบัติอันบุคคลพึงเสวยมีโกฏิสี่สิบ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จตฺตาฬีสโกฏิวิภโว (เสฏฺ) อ. เศรษฐี ผู้มีสมบัติ อันบุคคลพึงเสวยมีโกฏิสี่สิบ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิ กรณพหุพพิหิสมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. จตฺตาฬีสํ โกฏิโย ยสฺส โส จตฺตาฬีส- โกฏิ (วิภโว) โกฏิ ท. ของสมบัติอันบุคคลพึงเสวยใด สี่สิบ สมบัติอันบุคคลพึงเสวยนั้น ชื่อว่ามีโกฏิสี่สิบ ฉ.ตุล.วิ. จตฺตาฬีสโกฏิ วิภโว ยสฺส โส จตฺตาฬีส โกฏิวิภโว (เสฏฺ) สมบัติอันบุคคลพึงเสวย ของ เศรษฐีใด มีโกฏิสี่สิบ เศรษฐีนั้น ชื่อว่ามีสมบัติ อันบุคคลพึงเสวยมีโกฏิสี่สิบ

ศัพท์บาลี --->>จนฺท-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระจันทร์ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จนฺโท อ. พระจันทร์

ศัพท์บาลี --->>จนฺทกินฺนรีชาตก-->> คำแปล --->>น.,นปุ. จันทกินนรีชาดก แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. จนฺทกินฺนรีชาตกํ ซึ่งจันทกินนรีชาดก

ศัพท์บาลี --->>จนฺทน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. (กลิ่น)จันทน์ แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จนฺทนํ อ. (กลิ่น)จันทน์

ศัพท์บาลี --->>จนฺทมณฺฑล-->> คำแปล --->>น.,นปุ. มณฑลแห่งพระจันทร์ แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. จนฺทมณฺฑลํ ซึ่งมณฑลแห่งพระจันทร์ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จนฺทสฺส มณฺฑลํ = จนฺทมณฺฑลํ

ศัพท์บาลี --->>จนฺทวตี-->> คำแปล --->>ว.,อิต. จันทวดี (ชื่อของนคร) แจกเหมือน นารี เช่น จนฺทวตี นาม (นครํ) อ. พระนคร ชื่อว่าจันทวดี

ศัพท์บาลี --->>จนฺทสุริยา-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อ. พระจันทร์และพระอาทิตย์ ท. เป็นอสมาหารทวันทวสมาส วิ.ว่า จนฺโท จ สุริโย จ = จนฺทสุริยา แจกเหมือน ปุริส เฉพาะฝ่ายพหุวจนะ

ศัพท์บาลี --->>จนฺทุปม-->> คำแปล --->>ว. ผู้มีพระจันทร์เป็นเครื่องเปรียบ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จนฺทุปโม (พุทฺโธ) อ. พระพุทธเจ้า ผู้มีพระจันทร์เป็นเครื่องเปรียบ เป็นฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า จนฺโท อุปมา ยสฺส โส จนฺทุปโม, จนฺโทปโม (พุทฺโธ) พระจันทร์ เป็นเครื่องเปรียบ ของพระพุทธเจ้า ใด พระพุทธเจ้านั้น ชื่อว่าผู้มีพระจันทร์เป็น เครื่องเปรียบ

ศัพท์บาลี --->>จนฺทเทวปุตฺต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. จันทเทพบุตร แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จนฺทเทวปุตฺโต อ. จันทเทพบุตร

ศัพท์บาลี --->>จนฺทเลขา-->> คำแปล --->>น.,อิต. วงแห่งพระจันทร์ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. จนฺทเลขา อ. วงแห่งพระจันทร์ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จนฺทสฺส เลขา = จนฺทเลขา

ศัพท์บาลี --->>จนฺโทปมปฺปฏิปทา-->> คำแปล --->>น.,อิต. ปฏิปทาอันมีพระจันทร์เป็นเครื่องเปรียบ แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.เอก. จนฺโทปมปฺปฏิปทํ ซึ่งปฏิปทาอันมีพระจันทร์เป็นเครื่องเปรียบ เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตุล.วิ. จนฺโท อุปมา ยสฺสา สา จนฺโทปมา (ปฏิปทา) วิ.บุพ.กัม.วิ. จนฺโทปมา ปฏิปทา = จนฺโทปมปฺปฏิปทา [ซ้อน ปฺ]

ศัพท์บาลี --->>จปล-->> คำแปล --->>ว. อันกวัดแกว่ง นปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จปลํ (จิตฺตํ) อ. จิต อันกวัดแกว่ง คำว่า จปล มาจาก จป ธาตุ ในความโยกโคลง, ความไหว + อล ปัจจัย (นอกแบบ) ได้รูปเป็น จปล แปลว่า อันกวัดแกว่ง เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ วิ.ว่า จปตีติ จปลํ (จิตฺตํ) จิตใด ย่อมกวัดแกว่ง เหตุนั้น จิตนั้น ชื่อว่า จปลํๆ อันกวัดแกว่ง

ศัพท์บาลี --->>จปลายนฺต-->> คำแปล --->>ก. สัปหงกอยู่, ประพฤติโยกโคลงอยู่ จปล ศัพท์ = โยกโคลง + อาย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ได้รูปเป็น จปลายนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>จมู-->> คำแปล --->>น.,อิต. เสนา แจกเหมือน วธู เช่น ป.เอก. จมู อ. เสนา

ศัพท์บาลี --->>จมฺม-->> คำแปล --->>น.,นปุ. หนัง แจกเหมือน กุล เช่น ฉ.เอก. จมฺมสฺส แห่งหนัง

ศัพท์บาลี --->>จมฺมปสิพฺพก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. กระสอบอันบุคคลกระทำแล้วด้วยหนัง แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.พหุ. จมฺมปสิพฺพเก ยังกระสอบอันบุคคลกระทำแล้วด้วยหนัง ท. เป็นตติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จมฺเมน (กตา) ปสิพฺพกา = จมฺมปสิพฺพกา

ศัพท์บาลี --->>จร-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จงประพฤติ จร ธาตุ ในความประพฤติ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + หิ ปัญจมีวิภัตติ ลบ หิ สำเร็จรูปเป็น จร

ศัพท์บาลี --->>จรณ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อัน (การ) เที่ยวไป, ความประพฤติ แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จรณํ อ. การเที่ยวไป, อ. ความประพฤติ มาจาก จร ธาตุ ในความเที่ยวไป, ความประพฤติ + ยุ ปัจจัย แปลง ยุ เป็น อณ ได้รูปเป็น จรณ แปลว่า การเที่ยวไป, ความประพฤติ เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า จรณํ = จรณํ

ศัพท์บาลี --->>จรณฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่เป็นที่เที่ยวไป แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. จรณฏฺานํ สู่ที่เป็นที่เที่ยวไป เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ.วิ. จรติ เอตฺถาติ จรณํ (านํ) วิ.บุพ.กัม.วิ. จรณํ านํ = จรณฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ หน้า ]

ศัพท์บาลี --->>จรติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ปุคฺคโล อ. บุคคล) ย่อมเที่ยวไป, ย่อมประพฤติ จร ธาตุ ในความประพฤติ, ความเที่ยวไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น จรติ

ศัพท์บาลี --->>จรถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) จงเที่ยวไป, จงประพฤติ จร ธาตุ ในความประพฤติ, ความเที่ยวไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ถ ปัญจมีวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น จรถ

ศัพท์บาลี --->>จรนฺต-->> คำแปล --->>ก. เที่ยวไปอยู่ จร ธาตุ ในความเที่ยวไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ได้รูปเป็น จรนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>จรนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชนา อ. ชน ท.) ย่อมเที่ยวไป จร ธาตุ ในความเที่ยวไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น จรนฺติ

ศัพท์บาลี --->>จรปุริส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. บุรุษผู้เที่ยวไป แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. จรปุริสา อ. บุรุษผู้เที่ยวไป ท. เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี อ ปัจจัย กัตตุรูป กัตตุสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.กัต.กัต.วิ. จรนฺตีติ จรา (ปุริสา) วิ.บุพ.กัม.วิ. จรา ปุริสา = จรปุริสา

ศัพท์บาลี --->>จรมาน-->> คำแปล --->>ก. เที่ยวไปอยู่ จร ธาตุ ในความเที่ยวไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + มาน ปัจจัย ได้รูปเป็น จรมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>จรสิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) ย่อมประพฤติ จร ธาตุ ในความประพฤติ, ความเที่ยวไป + อ ปัจจัยใน กัตตุวาจก + สิ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น จรสิ

ศัพท์บาลี --->>จราม-->> คำแปล --->>ก. (มยํ อ. เรา ท.) ย่อมเที่ยวไป จร ธาตุ ในความประพฤติ, ความเที่ยวไป + อ ปัจจัยใน กัตตุวาจก + ม วัตตมานาวิภัตติ ม อยู่หลัง ทีฆะ อ ที่สุดธาตุ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น จราม

ศัพท์บาลี --->>จรามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) ย่อมเที่ยวไป จร ธาตุ ในความประพฤติ, ความเที่ยวไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + มิ วัตตมานาวิภัตติ มิ อยู่หลัง ทีฆะ อ ที่สุดธาตุ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น จรามิ

ศัพท์บาลี --->>จริ-->> คำแปล --->>ก. (สกุโณ อ. นก) เที่ยวไปแล้ว จร ธาตุ ในความเที่ยวไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น จริ

ศัพท์บาลี --->>จริต-->> คำแปล --->>น.,นปุ. การเที่ยวไป แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จริตํ อ. การเที่ยวไป คำว่า จริต มาจาก จร ธาตุ ในความเที่ยวไป + ต ปัจจัยในนามกิตก์ (นอกแบบ) ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น จริต แปลว่า การเที่ยวไป เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า จรณํ = จริตํ

ศัพท์บาลี --->>จริตุกาม-->> คำแปล --->>ว. ผู้ประสงค์เพื่ออันเที่ยวไป ปุ. แจก เหมือน ปุริส เช่น จ.พหุ. จริตุกามานํ (ภิกฺขูนํ) แก่ภิกษุ ท. ผู้ประสงค์เพื่ออันเที่ยวไป เป็น จตุตถีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จริตุ กามา = จริตุกามา (ภิกฺขู) [บทสมาส ลบนิคคหิตบทหน้า]

ศัพท์บาลี --->>จริตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันอัน…เที่ยวไป, อ. อันอัน…ประพฤติ, เพื่ออันเที่ยวไป, เพื่ออันประพฤติ จร ธาตุ ในความประพฤติ, ความเที่ยวไป + ตุ ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น จริตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>จริตฺวา-->> คำแปล --->>ก. เที่ยวไปแล้ว จร ธาตุ ในความประพฤติ, ความเที่ยวไป + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น จริตฺวา

ศัพท์บาลี --->>จริยปฏิปกฺข-->> คำแปล --->>ว. อันเป็นปฏิปักษ์ต่อความประพฤติ ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. จริยปฏิปกฺขํ (ธมฺมํ) ซึ่งธรรม อันเป็นปฏิปักษ์ต่อความประพฤติ เป็นจตุตถีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จริยาย ปฏิปกฺโข = จริยปฏิปกฺโข (ธมฺโม)

ศัพท์บาลี --->>จริยาวส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อำนาจ (สามารถ) แห่งความประพฤติ แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. จริยาวเสน ด้วยสามารถแห่งความประพฤติ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จริยาย วโส = จริยาวโส

ศัพท์บาลี --->>จริสฺสติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชโน อ. ชน) จักประพฤติ จร ธาตุ ในความประพฤติ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสติ ภวิสสันติวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น จริสฺสติ

ศัพท์บาลี --->>จริสฺสสิ-->> คำแปล --->>ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) จักเที่ยวไป จร ธาตุ ในความประพฤติ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสสิ ภวิสสันติวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น จริสฺสสิ

ศัพท์บาลี --->>จริสฺสาม-->> คำแปล --->>(มยํ อ. เรา ท.) จักเที่ยวไป จร ธาตุ ในความประพฤติ, ความเที่ยวไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสาม ภวิสสันติวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น จริสฺสาม

ศัพท์บาลี --->>จริสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) จักเที่ยวไป จร ธาตุ ในความประพฤติ, ความเที่ยวไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น จริสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>จรึสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชนา อ. ชน ท.) ประพฤติแล้ว จร ธาตุ ในความประพฤติ + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง อุ เป็น อึสุ สำเร็จรูปเป็น จรึสุ

ศัพท์บาลี --->>จรํ-->> คำแปล --->>ก. เมื่อเที่ยวไป, เที่ยวไปอยู่ ศัพท์เดิมเป็น จรนฺต อ การันต์ในปุงลิงค์ ลง สิ ปฐมาวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ แปลง นฺต กับ สิ เป็น อํ สำเร็จรูปเป็น จรํ แจกเหมือน ภวนฺต

ศัพท์บาลี --->>จลนฺต-->> คำแปล --->>ก. ไหวอยู่ จล ธาตุ ในความไหว + อ ปัจจัย ในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ได้รูปเป็น จลนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>จลิต-->> คำแปล --->>ก. ปั่นป่วนแล้ว จล ธาตุ ในความไหว, ความปั่นป่วน + ต ปัจจัย ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น จลิต ดู อกิลนฺต

ศัพท์บาลี --->>จลึสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น วาตา อ. ลม ท.) ปั่นป่วนแล้ว จล ธาตุ ในความไหว, ความปั่นป่วน + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ แปลง อุ เป็น อึสุ สำเร็จรูปเป็น จลึสุ

ศัพท์บาลี --->>จวติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เทวปุตฺโต อ. เทพบุตร) ย่อมเคลื่อน จุ ธาตุ ในความเคลื่อน + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ พฤทธิ อุ ที่ จุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว สำเร็จรูปเป็น จวติ

ศัพท์บาลี --->>จวนก-->> คำแปล --->>ว. ผู้เคลื่อน ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.พหุ. จวนเก (สตฺเต) ซึ่งสัตว์ ท. ผู้เคลื่อน คำว่า จวนก มาจาก จุ ธาตุ ในความเคลื่อน + ยุ ปัจจัย พฤทธิ อุ ที่ จุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ยุ เป็น อน ลง ก สกัด ได้รูปเป็น จวนก แปลว่า ผู้เคลื่อน เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ วิ.ว่า จวนฺตีติ จวนกา (สตฺตา)

ศัพท์บาลี --->>จวนสตฺต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. สัตว์ผู้เคลื่อน แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.พหุ. จวนสตฺเต ซึ่งสัตว์ผู้เคลื่อน ท. เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป กัตตุสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.กัต.วิ. จวนฺตีติ จวนา (สตฺตา) วิ.บุพ.กัม.วิ. จวนา สตฺตา = จวนสตฺตา

ศัพท์บาลี --->>จวนฺต-->> คำแปล --->>ก. เคลื่อนอยู่ จุ ธาตุ ในความเคลื่อน + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย พฤทธิ อุ ที่ จุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ได้รูปเป็น จวนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>จวนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เทวปุตฺตา อ. เทพบุตร ท.) ย่อมเคลื่อน จุ ธาตุ ในความเคลื่อน + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ พฤทธิ อุ ที่ จุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว สำเร็จรูปเป็น จวนฺติ

ศัพท์บาลี --->>จวิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น เทวปุตฺโต อ. เทพบุตร) เคลื่อนแล้ว จุ ธาตุ ในความเคลื่อน + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ พฤทธิ อุ ที่ จุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น จวิ

ศัพท์บาลี --->>จวิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. เคลื่อนแล้ว, ครั้นเคลื่อนแล้ว จุ ธาตุ ในความเคลื่อน + ตฺวา ปัจจัย พฤทธิ อุ ที่ จุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น จวิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>จาค-->> คำแปล --->>น.,ปุ. จาคะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จาโค อ. จาคะ คำว่า จาค มาจาก จช ธาตุ ในความสละ + ณ ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุเป็น อา แปลง ช เป็น ค ลบ ณ ได้รูปเป็น จาค แปลว่า ความสละ เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า จชนํ = จาโค

ศัพท์บาลี --->>จาฏิ-->> คำแปล --->>น.,อิต. ตุ่ม, ถาด แจกเหมือน รตฺติ เช่น ป.พหุ. จาฏิโย อ. ตุ่ม ท. ทุ.เอก. จาฏึ ซึ่งถาด

ศัพท์บาลี --->>จาติ-->> คำแปล --->>มาจาก + อิติ

ศัพท์บาลี --->>จาตุทีปกมหาเมฆ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เมฆใหญ่อันตั้งขึ้นแล้วในทวีปสี่ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จาตุทีปก มหาเมโฆ อ. เมฆใหญ่อันตั้งขึ้นแล้วในทวีปสี่ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส และ ณ ปัจจัยในราคาทิตัทธิต เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. มหนฺโต เมโฆ = มหาเมโฆ ส.ทิคุ. วิ. จตฺตาโร ทีปา = จตุทีปํ ณ.ราคา.วิ. จตุทีเป อุฏฺโต = จาตุทีปโก (มหาเมโฆ) [จตุทีป + ณ ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นศัพท์ เป็น อา ลบ ณ ทิ้ง ลง ก สกัด ได้รูปเป็น จาตุทีปก] วิ.บุพ.กัม.วิ. จาตุทีปโก มหาเมโฆ = จาตุทีปกมหาเมโฆ ; ทวีป ๔ ได้แก่ ๑. ชมพูทวีป ๒. อปรโคยานทวีป ๓. อุตรกุรุทวีป ๔. ปุพพวิเทหทวีป

ศัพท์บาลี --->>จาตุทฺทิส-->> คำแปล --->>ว. ผู้มาแล้วจากทิศสี่ แจกเหมือน ปุริส เช่น จ.เอก. จาตุทฺทิสสฺส (ภิกฺขุสงฺฆสฺส) แก่หมู่ แห่งภิกษุ ผู้มาแล้วจากทิศสี่ ลง ณ ปัจจัยใน ราคาทิตัทธิต มีอสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. จตสฺโส ทิสา = จตุทฺทิสา [ซ้อน ทฺ] ณ.ราคา.วิ. จตุทฺทิสาหิ อาคโต = จาตุทฺทิโส (ภิกฺขุสงฺโฆ) หมู่แห่งภิกษุ ผู้มาแล้ว จากทิศสี่ ท. ชื่อว่า จาตุทฺทิโสๆ ผู้มา แล้วจากทิศสี่ [จตุทฺทิส + ณ ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นศัพท์ เป็น อา ลบ ณ ทิ้ง ได้รูปเป็น จาตุทฺทิส]

ศัพท์บาลี --->>จาตุมฺมหาปถ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. หมวด (ประชุม) แห่งหนทางใหญ่สี่ แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. จาตุมฺมหาปเถ ใกล้หมวดแห่งหนทางใหญ่สี่ ลง ณ ปัจจัยในสมุหตัทธิต มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส และอสมาหารทิคุสมาส เป็น ภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. มหนฺตา ปถา = มหาปถา อ.ทิคุ.วิ. จตฺตาโร มหาปถา = จตุมฺมหาปถา [ซ้อน มฺ] ณ.สมุห.วิ. จตุมฺมหาปถานํ สมุโห = จาตุมฺมหาปโถ [จตุมฺมหาปถ + ณ ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นศัพท์ เป็น อา ลง ณ ทิ้ง ได้รูปเป็น จาตุมฺมหาปถ]

ศัพท์บาลี --->>จาตุมฺมาส-->> คำแปล --->>น.,นปุ. หมวดแห่งเดือนสี่ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. จาตุมฺมาสํ ตลอดหมวดแห่ง เดือนสี่ ลง ณ ปัจจัยในสมุหตัทธิต มีอสมาหาร ทิคุสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. จตฺตาโร มาสา = จตุมฺมาสา [ซ้อน มฺ] ณ.สมุห.วิ. จตุมฺมาสานํ สมุโห = จาตุมฺมาโส [จตุมฺมาส + ณ ปัจจัย ด้วยอำนาจ ณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นศัพท์ เป็น อา ลง ณ ทิ้ง ได้รูปเป็น จาตุมฺมาส]

ศัพท์บาลี --->>จาตุมฺมาสจฺจย-->> คำแปล --->>น.,ปุ การล่วงไปแห่งหมวด แห่งเดือนสี่ แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. จาตุมฺมาสจฺจเยน โดยการล่วงไปแห่งหมวด แห่งเดือนสี่ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีอสมาหาร ทิคุสมาส และ ณ ปัจจัยในสมุหตัทธิต เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทิคุ.วิ. จตฺตาโร มาสา = จตุมฺมาสา [ซ้อน มฺ] ณ.สมุห.วิ. จตุมฺมาสานํ สมุโห = จาตุมฺมาโส ฉ.ตัป.วิ. จาตุมฺมาสสฺส อจฺจโย = จาตุมฺมาสจฺจโย

ศัพท์บาลี --->>จาป-->> คำแปล --->>น.,ปุ.,อิต. แล่ง ปุ. แจกเหมือน ปุริส อิต. เป็น จาปา แจกเหมือน กญฺญา เฉพาะปัญจมีวิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ ลง โต ปัจจัย เป็น จาปาโต จากแล่ง บ้าง

ศัพท์บาลี --->>จาราเปสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ราชา อ. พระราชา) ยัง…ให้ เที่ยวไปแล้ว จร ธาตุ ในความเที่ยวไป + ณาเป ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ด้วยอำนาจ ณาเป ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ อาเป ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น จาราเปสิ

ศัพท์บาลี --->>จาริก-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่จาริก แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. จาริกํ สู่ที่จาริก

ศัพท์บาลี --->>จาริกญฺจรมาโน-->> คำแปล --->>มาจาก จาริกํ + จรมาโน

ศัพท์บาลี --->>จาลน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. การ (อัน) ให้หวั่นไหว แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จาลนํ อ. อันให้หวั่นไหว คำว่า จาลน มาจาก จล ธาตุ ในความไหว, ความ หวั่นไหว + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ยุ ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ แปลง ยุ เป็น อน เป็น จาเล + อน ลบ เอ ที่ เล ได้รูปเป็น จาลน แปลว่า การให้หวั่นไหว เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า จาลนํ = จาลนํ

ศัพท์บาลี --->>จาลนสทิส-->> คำแปล --->>ว. เช่นกับด้วยอันยัง…ให้หวั่นไหว นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จาลนสทิสํ (จาลนํ) อ. การยัง…ให้หวั่นไหว เช่นกับด้วยอัน ยัง…ให้หวั่นไหว เป็นตติยาตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จาลเนน สทิสํ = จาลนสทิสํ (จาลนํ)

ศัพท์บาลี --->>จาลา-->> คำแปล --->>น.,อิต. นางจาลา (ชื่อของน้องสาว พระสารีบุตร) แจกเหมือน กญฺญา เช่น ป.เอก. จาลา อ. นางจาลา

ศัพท์บาลี --->>จาลิกา-->> คำแปล --->>ว.,อิต. จาลิกา (ชื่อของภูเขา) แจกเหมือน กญฺญา เช่น ส.เอก. จาลิกาย (ปพฺพเต) ที่ภูเขา ชื่อว่าจาลิกา [ธ. ๒: เมฆิยตฺเถรวตฺถุ หน้า ๑๑๖]

ศัพท์บาลี --->>จาวิตทิวส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. วันแห่งตนเคลื่อนแล้ว แจก เหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. จาวิตทิวเส ในวัน แห่งตนเคลื่อนแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จาวิตสฺส ทิวโส = จาวิตทิวโส

ศัพท์บาลี --->>จาเลตุ-->> คำแปล --->>น. อ. อันยัง…ให้หวั่นไหว, เพื่ออัน ให้หวั่นไหว จล ธาตุ ในความหวั่นไหว + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + ตุ ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น จาเลตุ ดู อาคนฺตุ

ศัพท์บาลี --->>จาเลนฺต-->> คำแปล --->>ก. ยัง…ให้หวั่นไหวอยู่ จล ธาตุ ใน ความหวั่นไหว + เณ ปัจจัยในเหตุกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้น ธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ได้รูปเป็น จาเลนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>จาเลสิ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น มจฺโฉ อ. ปลา) ยัง…ให้ไหวแล้ว จล ธาตุ ในความหวั่นไหว + เณ ปัจจัยในเหตุ กัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ด้วยอำนาจ เณ ปัจจัย ทีฆะ อ ต้นธาตุ เป็น อา ลบ ณ เหลือไว้ แต่ เอ ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูป เป็น จาเลสิ

ศัพท์บาลี --->>จาเวตุกาม-->> คำแปล --->>ว. ผู้ใคร่เพื่ออันให้เคลื่อน ปุ. แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จาเวตุกาโม (โก) อ. ใคร ผู้ใคร่เพื่ออันให้เคลื่อน เป็นจตุตถีตัปปุริส สมาส วิ.ว่า จาเวตุ กาโม = จาเวตุกาโม (โก) ดู อตฺถริตุกาม

ศัพท์บาลี --->>จิตก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เชิงตะกอน แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. จิตกํ สู่เชิงตะกอน

ศัพท์บาลี --->>จิตฺต-->> คำแปล --->>๑ ว.,ปุ. จิตตะ (ชื่อของคฤหบดี) แจกเหมือน ปุริส เช่น ฉ.เอก. จิตฺตสฺส (คหปติโน) ของ คฤหบดีชื่อว่าจิตตะ

ศัพท์บาลี --->>จิตฺต-->> คำแปล --->>๒ น.,นปุ. จิต แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จิตฺตํ อ. จิต

ศัพท์บาลี --->>จิตฺตกฺเขป-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความฟุ้งซ่านแห่งจิต แจก เหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. จิตฺตกฺเขปํ ซึ่งความ ฟุ้งซ่านแห่งจิต เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จิตฺตสฺส เขโป = จิตฺตกฺเขโป [ซ้อน กฺ]

ศัพท์บาลี --->>จิตฺตคหปติ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. คฤหบดีชื่อว่าจิตตะ แจกเหมือน มุนิ เช่น ทุ.เอก. จิตฺตคหปตึ ยังคฤหบดีชื่อว่าจิตตะ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า จิตฺโต คหปติ = จิตฺตคหปติ

ศัพท์บาลี --->>จิตฺตปาตลิ-->> คำแปล --->>ว.,อิต. จิตตปาตลิ (ชื่อของต้นไม้) แจกเหมือน รตฺติ เช่น ส.เอก. จิตฺตปาตลิยา (รุกฺเข) ครั้นเมื่อต้นไม้ ชื่อว่าจิตตปาตลิ

ศัพท์บาลี --->>จิตฺตปฺปสาท-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความเลื่อมใสแห่งจิต แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. จิตฺตปฺปสาทํ ซึ่ง ความเลื่อมใสแห่งจิต เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จิตฺตสฺส ปสาโท = จิตฺตปฺปสาโท [ซ้อน ปฺ]

ศัพท์บาลี --->>จิตฺตลตาวน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. สวนชื่อว่าจิตรลดา แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จิตฺตลตาวนํ อ. สวนชื่อว่า จิตรลดา เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า จิตฺตลตา วนํ = จิตฺตลตาวนํ

ศัพท์บาลี --->>จิตฺตวคฺควณฺณนา-->> คำแปล --->>น.,อิต. อ. วาจาเป็นเครื่อง พรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งวรรคอันบัณฑิต กำหนดแล้วด้วยจิต ลง ยุ ปัจจัย เป็นกัตตุรูป กรณสาธนะ มีตติยาตัปปุริสสมาส และฉัฏฐี ตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ต.ตัป.วิ. จิตฺเตน (สลฺลกฺขิโต) วคฺโค = จิตฺตวคฺโค ฉ.ตัป.วิ. จิตฺตวคฺคสฺส อตฺโถ = จิตฺตวคฺคตฺโถ ยุ.กัต.กรณ.วิ. จิตฺตวคฺคตฺถํ วณฺเณติ เอตายาติ จิตฺตวคฺควณฺณนา (วาจา) เขา ย่อมพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งวรรคอัน บัณฑิตกำหนดแล้วด้วยจิต ด้วยวาจานั่น เหตุนั้น วาจานั่น ชื่อว่า จิตฺตวคฺควณฺณนาๆ เป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งวรรคอันบัณฑิต กำหนดแล้วด้วยจิต [ลบ อตฺถ ในท่ามกลาง]

ศัพท์บาลี --->>จิตฺตวสิก-->> คำแปล --->>ว. ผู้เป็นไปในอำนาจแห่งจิต ปุ. แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จิตฺตวสิโก (ปุริโส) อ. บุรุษ ผู้เป็นไปในอำนาจแห่งจิต ลง ณิก ปัจจัย ใน ตรตฺยาทิตัทธิต มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. จิตฺตสฺส วโส = จิตฺตวโส ณิก.ตรตฺยา.วิ. จิตฺตวเส วตฺตตีติ จิตฺตวสิโก (ปุริโส) บุรุษใด ย่อมเป็นไป ในอำนาจ แห่งจิต เหตุนั้น บุรุษนั้น ชื่อว่า จิตฺตวสิโกๆ ผู้เป็นไปในอำนาจแห่งจิต

ศัพท์บาลี --->>จิตฺตวาร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. วาระแห่งจิต แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. จิตฺตวารํ ซึ่งวาระแห่งจิต เป็นฉัฏฐี ตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จิตฺตสฺส วาโร = จิตฺตวาโร

ศัพท์บาลี --->>จิตฺตวีชนี-->> คำแปล --->>น.,อิต. พัดอันวิจิตร แจกเหมือน นารี เช่น ทุ.เอก. จิตฺตวีชนึ ซึ่งพัดอันวิจิตร เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า จิตฺตา วีชนี = จิตฺตวีชนี

ศัพท์บาลี --->>จิตฺตสุข-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ความสุขแห่งจิต แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จิตฺตสุขํ อ. ความสุขแห่งจิต เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จิตฺตสฺส สุขํ = จิตฺตสุขํ

ศัพท์บาลี --->>จิตฺตสฺสาท-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความเบาแห่งพระทัย แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. จิตฺตสฺสาทํ ซึ่งความเบาแห่งพระทัย เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จิตฺตสฺส อสฺสาโท = จิตฺตสฺสาโท

ศัพท์บาลี --->>จิตฺตหตฺถ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. จิตตหัตถ์ แจกเหมือน ปุริส เช่น อา.เอก. จิตฺตหตฺถ ดูก่อนจิตตหัตถ์

ศัพท์บาลี --->>จิตฺตหตฺถตฺเถร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระเถระชื่อว่าจิตตหัตถ์ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จิตฺตหตฺถตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่าจิตตหัตถ์ เป็นวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า จิตฺตหตฺโถ เถโร = จิตฺตหตฺถตฺเถโร [ซ้อน ตฺ]

ศัพท์บาลี --->>จิตฺตหตฺถตฺเถรวตฺถุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งพระ- เถระชื่อว่าจิตตหัตถ์ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มี วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม.วิ. จิตฺตหตฺโถ เถโร = จิตฺตหตฺถตฺเถโร [ซ้อน ตฺ] ฉ.ตัป.วิ. จิตฺตหตฺถเถรสฺส วตฺถุ = จิตฺตหตฺถตฺเถรวตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>จิตฺตานุรูป-->> คำแปล --->>ว. อันสมควรแก่จิต นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. จิตฺตานุรูปํ (วตฺถุ) ซึ่งวัตถุ อันสมควรแก่จิต เป็นจตุตถีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จิตฺตสฺส อนุรูปํ = จิตฺตานุรูปํ (วตฺถุ)

ศัพท์บาลี --->>จิตฺตุตฺราสมตฺต-->> คำแปล --->>ว. สักว่าความสะดุ้งแห่งจิต นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จิตฺตุตฺราสมตฺตํ (การณํ) อ. เหตุ สักว่าความสะดุ้งแห่งจิต เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จิตฺตสฺส อุตฺราโส = จิตฺตุตฺราโส สัม.บุพ.กัม.วิ. จิตฺตุตฺราโส อิติ มตฺตํ = จิตฺตุตฺราสมตฺตํ (การณํ)

ศัพท์บาลี --->>จิตฺตุปฺปาท-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ความเกิดขึ้นแห่งจิต แจก เหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. จิตฺตุปฺปาเทน ด้วย ความเกิดขึ้นแห่งจิต เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จิตฺตสฺส อุปฺปาโท = จิตฺตุปฺปาโท

ศัพท์บาลี --->>จิตฺตเกฺลส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เครื่องเศร้าหมองแห่งจิต แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.พหุ. จิตฺตเกฺลเสหิ จากเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต ท. เป็นฉัฏฐีตัปปุริส สมาส วิ.ว่า จิตฺตสฺส เกฺลสา = จิตฺตเกฺลสา

ศัพท์บาลี --->>จิตฺรวีชนี-->> คำแปล --->>น.,อิต. พัดอันวิจิตร ดู จิตฺตวีชนี

ศัพท์บาลี --->>จินฺตน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ความคิด แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จินฺตนํ อ. ความคิด มาจาก จินฺต ธาตุ ในความคิด + ยุ ปัจจัย แปลง ยุ เป็น อน ได้รูป เป็น จินฺตน แปลว่า ความคิด, การคิด, อันคิด เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ วิ.ว่า จินฺตนํ = จินฺตนํ

ศัพท์บาลี --->>จินฺตยนฺต-->> คำแปล --->>ก. คิดอยู่ จินฺต ธาตุ ในความคิด + ณย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้ แต่ ย ได้รูปเป็น จินฺตยนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>จินฺตยมาน-->> คำแปล --->>ก. คิดอยู่ จินฺต ธาตุ ในความคิด + ณย ปัจจัยในกัตตุวาจก + มาน ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้ แต่ ย ได้รูปเป็น จินฺตยมาน ดู อชานมาน

ศัพท์บาลี --->>จินฺตยิ-->> คำแปล --->>ก. คิดแล้ว จินฺต ธาตุ ในความคิด + ณย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ ย รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น จินฺตยิ ประถมบุรุษ เช่น (อุปาสโก) จินฺตยิ อ. อุบาสก คิดแล้ว, มัธยมบุรุษ (ตฺวํ) จินฺตยิ อ. ท่าน คิดแล้ว ดู อกริ

ศัพท์บาลี --->>จินฺตยิตฺถ-->> คำแปล --->>ก. (ตุมฺเห อ. ท่าน ท.) คิดแล้ว จินฺต ธาตุ ในความคิด + ณย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ตฺถ อัชชัตตนีวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ ย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น จินฺตยิตฺถ

ศัพท์บาลี --->>จินฺตยิสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) จักคิด จินฺต ธาตุ ในความคิด + ณย ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ ย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น จินฺตยิสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>จินฺตยึสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชนา อ. ชน ท.) คิดแล้ว จินฺต ธาตุ ในความคิด + ณย ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ ย แปลง อุ เป็น อึสุ สำเร็จรูปเป็น จินฺตยึสุ

ศัพท์บาลี --->>จินฺติต-->> คำแปล --->>ก. อัน…คิดแล้ว จินฺต ธาตุ ในความคิด + ต ปัจจัย เป็นกัมมวาจก ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น จินฺติต ดู อกต

ศัพท์บาลี --->>จินฺติตกฺขณ-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ขณะแห่ง…อัน…คิดแล้ว แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. จินฺติตกฺขเณ ใน ขณะแห่ง…อัน…คิดแล้ว เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จินฺติตสฺส (การณสฺส) ขโณ = จิตฺตกฺขโณ [ซ้อน กฺ]

ศัพท์บาลี --->>จินฺติตจ฀ินฺติต-->> คำแปล --->>ว. อัน…ทั้งคิดแล้วทั้งคิดแล้ว นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จินฺติตจ฀ินฺติตํ (การณํ) อ. เหตุ อัน…ทั้งคิดแล้วทั้งคิดแล้ว เป็น วิเสสโนภยบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า จินฺติตญฺจ จินฺติตญฺจ = จินฺติตจินฺติตํ (การณํ)

ศัพท์บาลี --->>จินฺติตมตฺต-->> คำแปล --->>ว. สักว่าอัน…คิดแล้ว นปุ. แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. จินฺติตมตฺเต (การเณ) ครั้นเมื่อ เหตุ สักว่าอัน…คิดแล้ว เป็นสัมภาวนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า จินฺติตํ อิติ มตฺตํ = จินฺติตมตฺตํ (การณํ)

ศัพท์บาลี --->>จินฺเตตพฺพ-->> คำแปล --->>ก. อัน…พึงคิด จินฺต ธาตุ ในความคิด + เณ ปัจจัยประจำหมวดธาตุ + ตพฺพ ปัจจัย เป็นกัมมวาจก ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ได้รูปเป็น จินฺเตตพฺพ ดู อชานิตพฺพ

ศัพท์บาลี --->>จินฺเตติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ชโน อ. ชน) ย่อมคิด จินฺต ธาตุ ในความคิด + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูป เป็น จินฺเตติ

ศัพท์บาลี --->>จินฺเตตฺวา-->> คำแปล --->>ก. คิดแล้ว, ทรงดำริแล้ว, ครั้นคิด แล้ว จินฺต ธาตุ ในความคิด + เณ ปัจจัยใน กัตตุวาจก + ตฺวา ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น จินฺเตตฺวา

ศัพท์บาลี --->>จินฺเตนฺต-->> คำแปล --->>ก. คิดอยู่, ทรงดำริอยู่ จินฺต ธาตุ ใน ความคิด + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺต ปัจจัย ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ได้รูปเป็น จินฺเตนฺต ดู อกิลมนฺต

ศัพท์บาลี --->>จินฺเตนฺติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ตาปสา อ. ดาบส ท.) ย่อมคิด จินฺต ธาตุ ในความคิด + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น จินฺเตนฺติ

ศัพท์บาลี --->>จินฺเตมิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) ย่อมคิด จินฺต ธาตุ ในความ คิด + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + มิ วัตตมานาวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น จินฺเตมิ

ศัพท์บาลี --->>จินฺเตสิ-->> คำแปล --->>๑ ก. (เช่น เถโร อ. พระเถระ) คิดแล้ว จินฺต ธาตุ ในความคิด + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อี อัชชัตตนีวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม รัสสะ อี เป็น อิ สำเร็จรูปเป็น จินฺเตสิ

ศัพท์บาลี --->>จินฺเตสิ-->> คำแปล --->>๒ ก. (ตฺวํ อ. ท่าน) ย่อมคิด จินฺต ธาตุ ในความคิด + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สิ วัตตมานาวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูป เป็น จินฺเตสิ

ศัพท์บาลี --->>จินฺเตสึ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) คิดแล้ว จินฺต ธาตุ ในความคิด + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อึ อัชชัตตนีวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม สำเร็จรูปเป็น จินฺเตสึ

ศัพท์บาลี --->>จินฺเตสุ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ภิกฺขู อ. ภิกษุ ท.) คิดแล้ว จินฺต ธาตุ ในความคิด + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + อุ อัชชัตตนีวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ ลง ส อาคม สำเร็จรูปเป็น จินฺเตสุ

ศัพท์บาลี --->>จินฺเตสฺสามิ-->> คำแปล --->>ก. (อหํ อ. เรา) จักคิด จินฺต ธาตุ ใน ความคิด + เณ ปัจจัยในกัตตุวาจก + สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ ลบ ณ เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูป เป็น จินฺเตสฺสามิ

ศัพท์บาลี --->>จิร-->> คำแปล --->>ว. นาน ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. จิรํ (กาลํ) สิ้นกาลนาน

ศัพท์บาลี --->>จิรตร-->> คำแปล --->>ว. นานกว่า ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ต.เอก. จิรตเรน (กาเลน) โดยกาลนานกว่า ลง ตร ปัจจัยในเสฏฐตัทธิต วิ.ว่า สพฺเพ อิเม จิรา, อยมิเมสํ วิเสเสน จิโรติ จิรตโร (อยํ กาโล)

ศัพท์บาลี --->>จิรสฺสํ-->> คำแปล --->>นิ. สิ้นกาลนาน เช่น จิรสฺสํ วต เม อยฺโย อาคโต = อ. พระผู้เป็นเจ้า ของเรา มาแล้ว สิ้น กาลนาน หนอ [ธ. ๑: สญฺชยวตฺถุ หน้า ๑๐๒]

ศัพท์บาลี --->>จิรายติ-->> คำแปล --->>ก. (เช่น สามเณโร อ. สามเณร) ประพฤติ ช้าอยู่ จิร ศัพท์+ อาย ปัจจัยในกัตตุวาจก + ติ วัตตมานาวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น จิรายติ

ศัพท์บาลี --->>จิรายิต-->> คำแปล --->>ก. ประพฤติช้าแล้ว จิร ศัพท์ + อาย ปัจจัยในอาขยาต + ต ปัจจัย ลง อิ อาคม ได้รูปเป็น จิรายิต

ศัพท์บาลี --->>จีวร-->> คำแปล --->>น.,นปุ. จีวร แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จีวรํ อ. จีวร

ศัพท์บาลี --->>จีวรกมฺม-->> คำแปล --->>น.,นปุ. กรรมคือการเย็บซึ่งจีวร แจก เหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. จีวรกมฺมํ ซึ่งกรรมคือ การเย็บซึ่งจีวร เป็นอวธารณบุพพบท กัมม ธารยสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. จีวรสฺส สิพฺพนํ = จีวรสิพฺพนํ การเย็บซึ่งจีวร อว.บุพ. กัม.วิ. จีวรสิพฺพนํ เอว กมฺมํ = จีวรกมฺมํ [ลบ สิพฺพน ในท่ามกลาง]

ศัพท์บาลี --->>จีวรกรณฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่เป็นที่กระทำซึ่งจีวร แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จีวรกรณฏฺานํ อ. ที่เป็นที่กระทำซึ่งจีวร เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ. วิ. จีวรํ กโรติ เอตฺถาติ จีวรกรณํ (านํ) เขา ย่อมกระทำ ซึ่งจีวร ในที่นั่น เหตุนั้น ที่นั่น ชื่อว่า จีวรกรณํๆ เป็นที่กระทำซึ่งจีวร วิ.บุพ.กัม.วิ. จีวรกรณํ านํ = จีวรกรณฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ]

ศัพท์บาลี --->>จีวรการทิวส-->> คำแปล --->>น.,ปุ. วันเป็นที่กระทำซึ่งจีวร แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. จีวรการทิวเส ในวันเป็นที่กระทำซึ่งจีวร เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ณ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ณ.กัต.อธิ. วิ. จีวรํ กโรติ เอตฺถาติ จีวรกาโร (ทิวโส) วิ.บุพ.กัม.วิ. จีวรกาโร ทิวโส = จีวรการทิวโส

ศัพท์บาลี --->>จีวรคฺคหณาทีนิ-->> คำแปล --->>ว.,นปุ. (กิจฺจานิ) อ. กิจ ท. มีการ รับเอาซึ่งจีวรเป็นต้น แจกเหมือน อกฺขิ เป็น ฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริส สมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. จีวรสฺส คหณํ = จีวรคฺคหณํ [ซ้อน คฺ] ฉ.ตุล.วิ. จีวรคฺคหณํ อาทิ เยสํ ตานิ จีวรคฺคหณาทีนิ (กิจฺจานิ)

ศัพท์บาลี --->>จีวรทาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. การถวายซึ่งจีวร แจกเหมือน กุล เช่น ป.เอก. จีวรทานํ อ. การถวายซึ่งจีวร เป็น ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จีวรสฺส ทานํ = จีวรทานํ

ศัพท์บาลี --->>จีวรปคฺคหณาทิ-->> คำแปล --->>(วิ.) มีอันถือเอาซึ่งจีวรเป็นต้น

ศัพท์บาลี --->>จีวรปารุปนฏฺาน-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ที่เป็นที่ห่มซึ่งจีวร แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. จีวรปารุปนฏฺาเน ในที่เป็นที่ห่มซึ่งจีวร เป็นวิเสสนบุพพบท กัมม ธารยสมาส มี ยุ ปัจจัย กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ยุ.กัต.อธิ. วิ. จีวรํ ปารุปติ เอตฺถาติ จีวรปารุปนํ (านํ) พระเถระ ย่อมห่ม ซึ่งจีวร ในที่นั่น เหตุนั้น ที่นั่น ชื่อว่า จีวรปารุปนํๆ เป็นที่ห่มซึ่งจีวร วิ.บุพ. กัม.วิ. จีวรปารุปนํ านํ = จีวรปารุปนฏฺานํ [ซ้อน ฏฺ]

ศัพท์บาลี --->>จีวรวตฺถ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ผ้าเพื่อจีวร แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.พหุ. จีวรวตฺถานิ ซึ่งผ้าเพื่อจีวร ท. เป็น จตุตถีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จีวรสฺส วตฺถานิ = จีวรวตฺถานิ

ศัพท์บาลี --->>จีวรสหสฺส-->> คำแปล --->>น.,นปุ. พันแห่งจีวร ดู อตฺตภาวสหสฺส

ศัพท์บาลี --->>จีวรสาฏก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ผ้าสาฎกเพื่อจีวร แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.พหุ. จีวรสาฏเก ซึ่งผ้าสาฎกเพื่อ จีวร ท. เป็นจตุตถีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จีวรสฺส สาฏกา = จีวรสาฏกา

ศัพท์บาลี --->>จีวราทโย-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. (ปจฺจยา) อ. ปัจจัย ท. มีจีวร เป็นต้น เป็นฉัฏฐีตุลยาทิกรณพหุพพิหิสมาส วิ.ว่า จีวรํ อาทิ เยสํ เต จีวราทโย (ปจฺจยา) แจกเหมือน มุนิ

ศัพท์บาลี --->>จุณฺณ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ขุย แจกเหมือน กุล เช่น ป.พหุ. จุณฺณานิ อ. ขุย ท.

ศัพท์บาลี --->>จุต-->> คำแปล --->>ก. เคลื่อนแล้ว จุ ธาตุ ในความเคลื่อน + ต ปัจจัย ได้รูปเป็น จุต ดู อกิลนฺต

ศัพท์บาลี --->>จุตูปปาต-->> คำแปล --->>น.,ปุ การจุติและการอุบัติ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จุตูปปาโต อ. การจุติและการ อุบัติ เป็นสมาหารทวันทวสมาส (นอกกฎ) วิ.ว่า จุติ จ อุปปาโต จ = จุตูปปาโต

ศัพท์บาลี --->>จุตูปปาตญาณ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. จุตูปปาตญาณ แจก เหมือน กุล เช่น ท.เอก. จุตูปปาตญาณํ ซึ่ง จุตูปปาตญาณ

ศัพท์บาลี --->>จุทฺทส-->> คำแปล --->>ว. สิบสี่ เป็นได้ทั้ง ๓ ลิงค์ แจกเหมือน ปญฺจ

ศัพท์บาลี --->>จุทฺทสคาม-->> คำแปล --->>น.,ปุ. ชาวบ้านสิบสี่ตำบล แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.พหุ. จุทฺทสคามา อ. ชาวบ้าน สิบสี่ตำบล ท. เป็นอสมาหารทิคุสมาส วิ.ว่า จุทฺทส คามา = จุทฺทสคามา

ศัพท์บาลี --->>จุนฺท-->> คำแปล --->>น.,ปุ. จุนทะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จุนฺโท อ. จุนทะ

ศัพท์บาลี --->>จุนฺทสูกริก-->> คำแปล --->>๑ น.,ปุ นายจุนทสูกริก แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. จุนฺทสูกริกํ ซึ่งนายจุนทสูกริก

ศัพท์บาลี --->>จุนฺทสูกริก-->> คำแปล --->>๒ ว.,ปุ. ผู้ฆ่าซึ่งสุกรชื่อว่าจุนทะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. จุนฺทสูกริกํ (ปุริสํ) ซึ่งบุรุษ ผู้ฆ่าซึ่งสุกรชื่อว่าจุนทะ เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี ณิก ปัจจัย ในตรตฺยาทิตัทธิต เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตาม ลำดับ ดังนี้ ณิก.ตรตฺยา.วิ. สูกรํ หนตีติ สูกริโก (ปุริโส) บุรุษใด ย่อมฆ่า ซึ่งสุกร เหตุนั้น บุรุษนั้น ชื่อว่า สูกริโกๆ ผู้ฆ่าซึ่งสุกร วิ.บุพ.กัม.วิ. จุนฺโท สูกริโก = จุนฺทสูกริโก

ศัพท์บาลี --->>จุนฺทสูกริกวตฺถุ-->> คำแปล --->>๑ น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งนาย จุนทสูกริก เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จุนฺท- สูกริกสฺส วตฺถุ = จุนฺทสูกริกวตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>จุนฺทสูกริกวตฺถุ-->> คำแปล --->>๒ น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งบุรุษผู้ฆ่า ซึ่งสุกรชื่อว่าจุนทะ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มี ณิก ปัจจัยในตรตฺยาทิตัทธิต และวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตาม ลำดับ ดังนี้ ณิก. ตรตฺยา.วิ. สูกรํ หนตีติ สูกริโก (ปุริโส) วิ.บุพ.กัม.วิ. จุนฺโท สูกริโก = จุนฺทสูกริโก ฉ.ตัป.วิ. จุนฺทสูกริกสฺส วตฺถุ = จุนฺทสูกริกวตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>จุมฺพฏก-->> คำแปล --->>น.,นปุ. เทริด แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.พหุ. จุมฺพฏกานิ ซึ่งเทริด ท.

ศัพท์บาลี --->>จุมฺพิตฺวา-->> คำแปล --->>ก. จูบแล้ว, จุมพิตแล้ว จุมฺพ ธาตุ ใน ความจูบ, ความจุมพิต + ตฺวา ปัจจัย ลง อิ อาคม สำเร็จรูปเป็น จุมฺพิตฺวา

ศัพท์บาลี --->>จุลฺลกาล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระจุลกาล แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จุลฺลกาโล อ. พระจุลกาล

ศัพท์บาลี --->>จุลฺลกาลตฺเถร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระเถระชื่อว่าจุลกาล แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จุลฺลกาลตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่าจุลกาล เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า จุลฺลกาโล เถโร = จุลฺลกาลตฺเถโร [ซ้อน ตฺ]

ศัพท์บาลี --->>จุลฺลกาลมหากาล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. จุลกาลและมหากาล เช่น ทุ.พหุ. จุลฺลกาลมหากาเล ซึ่งจุลกาล และมหากาล ท. เป็นอสมาหารทวันทวสมาส วิ.ว่า จุลฺลกาโล จ มหากาโล จ = จุลฺลกาล มหากาลา แจกเหมือน ปุริส

ศัพท์บาลี --->>จุลฺลกาลมหากาลวตฺถุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. เรื่องแห่ง จุลกาลและมหากาล เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มี อสมาหารทวันทวสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลำดับ ดังนี้ อ.ทวัน.วิ. จุลฺลกาโล จ มหากาโล จ = จุลฺลกาลมหากาลา ฉ.ตัป.วิ. จุลฺลกาล มหากาลานํ = จุลฺลกาลมหากาลวตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>จุลฺลธมฺมปาลชาตก-->> คำแปล --->>น.,นปุ. จุลธรรมบาลชาดก แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.เอก. จุลฺลธมฺมปาลชาตกํ ซึ่งจุลธรรมบาลชาดก

ศัพท์บาลี --->>จุลฺลธมฺมปาลภูต-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. ผู้เป็นพระราชกุมาร พระนามว่าจุลธรรมบาลเป็น ปุ. แจกเหมือน ปุริส เช่น ส.เอก. จุลฺลธมฺมปาลภูเต (อตฺตนิ) ในพระองค์ ผู้เป็นพระราชกุมารพระนามว่า จุลธรรมบาลเป็นแล้ว ดู กลาพุราชภูต

ศัพท์บาลี --->>จุลฺลปาล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. จุลลปาละ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จุลฺลปาโล อ. จุลลปาละ

ศัพท์บาลี --->>จุลฺลสุภทฺทา-->> คำแปล --->>น.,อิต. นางจุลสุภัททา แจกเหมือน กญฺญา เช่น ทุ.เอก. จุลฺลสุภทฺทํ ซึ่งนางจุลสุภัททา

ศัพท์บาลี --->>จุลฺลหํสมหาหํสกกฺกฏกชาตก-->> คำแปล --->>น.,นปุ. จุลลหังส ชาดกและมหาหังสชาดกและกักกฏกชาดก แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.พหุ. จุลฺลหํสมหาหํส กกฺกฏกชาตกานิ ซึ่งจุลลหังสชาดกและ มหาหังสชาดกและกักกฏกชาดก ท. เป็น อสมาหารทวันทวสมาส วิ.ว่า จุลฺลหํสชาตกญฺจ มหาหํสชาตกญฺจ กกฺกฏกชาตกญฺจ = จุลฺล หํสมหาหํสกกฺกฏกชาตกานิ [ลบ ชาตก สอง ศัพท์หน้า]

ศัพท์บาลี --->>จุลฺลุปฏฺาก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. จุลลุปัฏฐาก แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. จุลฺลุปฏฺากํ ซึ่งจุลลุปัฏฐาก

ศัพท์บาลี --->>จูฬกนฺเตวาสิก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. อันเตวาสิกของเศรษฐี ชื่อว่าจูฬกะ แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จูฬกนฺเตวาสิโก อ. อันเตวาสิกของเศรษฐีชื่อว่า จูฬกะ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จูฬกสฺส อนฺเตวาสิโก = จูฬกนฺเตวาสิโก

ศัพท์บาลี --->>จูฬกเสฏฺิชาตก-->> คำแปล --->>น.,นปุ. จูฬกเสฏฐิชาดก แจก เหมือน กุล เช่น ส.เอก. จูฬกเสฏฺิชาตเก ใน จูฬกเสฏฐิชาดก

ศัพท์บาลี --->>จูฬกเสฏฺี-->> คำแปล --->>น.,ปุ. เศรษฐีชื่อว่าจูฬกะ แจกเหมือน เสฏฺ เช่น ป.เอก. จูฬกเสฏฺี อ. เศรษฐีชื่อว่า จูฬกะ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า จูฬโก เสฏฺี = จูฬกเสฏฺี

ศัพท์บาลี --->>จูฬงฺคุลี-->> คำแปล --->>น.,อิต. นิ้วก้อย แจกเหมือน นารี เช่น ต.เอก. จูฬงฺคุลิยา ด้วยนิ้วก้อย

ศัพท์บาลี --->>จูฬทฺวาร-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ประตูน้อย แจกเหมือน กุล เช่น ทุ.พหุ. จูฬทฺวารานิ ซึ่งประตูน้อย ท. เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า จูฬานิ ทฺวารานิ = จูฬทฺวารานิ

ศัพท์บาลี --->>จูฬปนฺถก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. จูฬปันถก, พระจูฬปันถก แจก เหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จูฬปนฺถโก อ. จูฬปันถก, อ. พระจูฬปันถก

ศัพท์บาลี --->>จูฬปนฺถกตฺเถร-->> คำแปล --->>น.,ปุ. พระเถระชื่อว่าจูฬปันถก แจกเหมือน ปุริส เช่น ทุ.เอก. จูฬปนฺถกตฺเถรํ ซึ่งพระเถระชื่อว่าจูฬปันถก เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า จูฬปนฺถโก เถโร = จูฬปนฺถกตฺเถโร [ซ้อน ตฺ]

ศัพท์บาลี --->>จูฬปนฺถกตฺเถรวตฺถุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งพระ-เถระชื่อว่าจูฬปันถก เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ วิ.บุพ.กัม. วิ. จูฬปนฺถโก เถโร = จูฬปนฺถกตฺเถโร [ซ้อน ตฺ] ฉ.ตัป.วิ. จูฬปนฺถกตฺเถรสฺส วตฺถุ = จูฬปนฺถกตฺเถรวตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>จูฬปนฺถกวตฺถุ-->> คำแปล --->>น.,นปุ. อ. เรื่องแห่งพระจูฬปันถก เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส วิ.ว่า จูฬปนฺถกสฺส วตฺถุ = จูฬปนฺถกวตฺถุ

ศัพท์บาลี --->>จูฬปิตา-->> คำแปล --->>๑ น.,ปุ. พ่อหนูน้อย, บิดาน้อย แจกเหมือน ปิตุ เช่น อา.เอก. จูฬปิตา ดูก่อน- พ่อหนูน้อย

ศัพท์บาลี --->>จูฬปิตา-->> คำแปล --->>๒ น.,ปุ อา แจกเหมือน ปิตุ เช่น ป.เอก. จูฬปิตา อ. อา

ศัพท์บาลี --->>จูฬมาคนฺทิย-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. จูฬมาคันทิยะ (ชื่อของพราหมณ์) แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จูฬมาคนฺทิโย (พฺราหฺมโณ) อ. พราหมณ์ชื่อว่าจูฬมาคันทิยะ

ศัพท์บาลี --->>จูฬยานก-->> คำแปล --->>น.,นปุ. ยานน้อย แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. จูฬยานเก บนยานน้อย เป็น วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า จูฬํ ยานกํ = จูฬยานกํ

ศัพท์บาลี --->>จูฬรถเทวปุตฺต-->> คำแปล --->>น.,ปุ. จูฬรถเทพบุตร แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จูฬรถเทวปุตฺโต อ. จูฬรถ- เทพบุตร

ศัพท์บาลี --->>จูฬวช-->> คำแปล --->>น.,ปุ. คอกน้อย แจกเหมือน ปุริส เช่น ฉ.เอก. จูฬวชสฺส แห่งคอกน้อย เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส วิ.ว่า จูโฬ วโช = จูฬวโช

ศัพท์บาลี --->>จูฬอนาถปิณฺฑิก-->> คำแปล --->>ว.,ปุ. จูฬอนาถบิณฑิกะ (ชื่อ ของเศรษฐี) เช่น ฉ.เอก. จูฬอนาถปิณฺฑิกสฺส (เสฏฺิสฺส) ของเศรษฐีชื่อว่าจูฬอนาถบิณฑิกะ

ศัพท์บาลี --->>จูฬา-->> คำแปล --->>น.,อิต. มวยผม, จุก แจกเหมือน กญฺญา เช่น ส.เอก. จูฬาย ที่มวยผม

ศัพท์บาลี --->>จูฬากรณมงฺคล-->> คำแปล --->>น.,ปุ. มงคลในเพราะการ กระทำซึ่งจุก แจกเหมือน กุล เช่น ส.เอก. จูฬากรณมงฺคเล ในมงคลในเพราะการกระทำซึ่งจุก เป็นสัตตมีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ตามลำดับ ดังนี้ ฉ.ตัป.วิ. จูฬาย กรณํ = จูฬากรณํ ส.ตัป.วิ. จูฬากรเณ มงฺคลํ = จูฬากรณมงฺคลํ

ศัพท์บาลี --->>จูฬุปฏฺาก-->> คำแปล --->>น.,ปุ. จูฬุปัฏฐาก แจกเหมือน ปุริส เช่น ป.เอก. จูฬุปฏฺาโก อ. จูฬุปัฏฐาก

ศัพท์บาลี --->>จเร-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ปุคฺคโล อ. บุคคล) พึงเที่ยวไป จร ธาตุ ในความประพฤติ, ความเที่ยวไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + เอยฺย สัตตมีวิภัตติ ลบ ยฺย เหลือไว้แต่ เอ สำเร็จรูปเป็น จเร

ศัพท์บาลี --->>จเรยฺย-->> คำแปล --->>ก. (เช่น ปุคฺคโล อ. บุคคล) พึงเที่ยวไป จร ธาตุ ในความประพฤติ, ความเที่ยวไป + อ ปัจจัยในกัตตุวาจก + เอยฺย สัตตมีวิภัตติ สำเร็จรูปเป็น จเรยฺย


คำศัทพ์