อาขยาต
. ศัพท์กล่าวกิริยา  คือความเป็นต้นว่า   ยิน-เดิน-นั่ง-นอน-กิน-ดื่ม-ทำ-พูด-คิด    ชื่อว่า อาขยาต.   
.  อาขยาต  มีเครื่องปรุงหรือมีองค์ประกอบ   อย่าง คือ วิภัตติ-กาล-บท-วจนะ-บุรุษ-ธาตุ-วาจก-ปัจจัย.
. วิภัตติ แปลว่า แจกหรือจำแนก.  เมื่อลงไปแล้วเป็นเครื่องหมายให้รู้ กาล-บท-วจนะ-และ บุรุษ 
     มี  หมวด  หมวดละ ๑๒ ตัว รวมทั้งหมด ๙๖ ตัว
(๑.)วตฺตมานา (อยู่  ย่อม  จะ) 
ปรสฺสปทํ
อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ
พหุวจนะ
เอกวจนะ
พหุวจนะ
ติ
อนฺติ
(เต)
(อนฺเต)
สิ
เส
วฺเห
มิ
เอ
มฺเห
 ….เอา  อนฺติ  เป็น  อเร  เช่น  วุจฺจร  บ้าง.  ใช้  เต  แทน ติ  เช่น  ชายเต  บ้าง.  ใช้  อนฺเต
….แทน  อนฺติ  เช่น  ปุจฺฉนฺเต  ใช้  เอ  แทน  มิ  เช่น  อิจฺเฉ.  บ้าง….
 (๒.)ปญฺจมี (จง  เถิด  ขอจง) 
ปรสฺสปทํ
อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ
พหุวจนะ
เอกวจนะ
พหุวจนะ
ตุ
อนฺตุ
(ตํ)
อนฺตํ
หิ
(สฺสุ)
วฺโห
มิ
เอ
อามฺหเส
….ตํ  ใช้แทน  ตุ  เช่น  ชยตํ  บ้าง. หิ ลบทิ้ง  เช่น  คจฺฉ  บ้าง.  สฺสุ  ใช้แทน  หิ  เช่น  กรสฺสุ บ้าง
 (๓.)  สตฺตมี (ควร  พึง  พึง) 
ปรสฺสปทํ
อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ
พหุวจนะ
เอกวจนะ
พหุวจนะ
เอยฺย
เอยฺยุํ
(เอถ)
เอรํ
เอยฺยาสิ
เอยฺยาถ
เอโถ
เอยฺยวฺโห
เอยฺยามิ
เอยฺยาม
(เอยฺยํ)
เอยฺยามฺเห
 ….เอยฺย  ลบ  ยฺย  เสียคงไว้แต่  เอ  เช่น  กเร, จเช, ชเห.
....... เอยฺย  แปลงเป็น อา ได้บ้าง เช่น กยิรา
........เอยฺย  แปลงเป็น ญา ได้บ้าง เช่น ชญฺญา
........เอยฺย ใช้ เอถ ฝ่าย อัตตโนบทแทนบ้าง เช่น ลเภถ
.......เอยฺยามิ  ใช้ เอยฺยํ ฝ่าย อัตตโนบทแทนบ้าง เช่น ปุจฺเฉยฺยํ
.......เอยฺยาม  แปลงเป็น เอมุ ได้ เช่น  ชาเนมุ
 (๔.)  ปโรกฺขา (แล้ว)
 
ปรสฺสปทํ
อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ
พหุวจนะ
เอกวจนะ
พหุวจนะ
อุ
ตฺถ
เร
เอ
ตฺถ
(  ิ)ตฺโถ
วฺโห
อํ
มฺห
(  ิ)อึ
มฺเห
 
(๕.)  หิยตฺตนี (แล้ว  อ  นำหน้า  ได้-แล้ว)
 
ปรสฺสปทํ
อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ
พหุวจนะ
เอกวจนะ
พหุวจนะ
อา
อู
ตฺถ
ตฺถุํ
โอ
ตฺถ
เส
วฺหํ
อํ
มฺห
อึ
มฺหเส
*** อา โดยมาก  มักรัสสะเป็น อ เสมอ เช่น อปจ อภว อโวจ.
 
 (๖.)  อชฺชตฺตนี (แล้ว อ นำหน้า ได้-แล้ว)
 
ปรสฺสปทํ
อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ
พหุวจนะ
เอกวจนะ
พหุวจนะ
อี(อิ)
อุํ(อึสุ อํสุ)
อา
อู
โอ(อิ)
(  ิ)ตฺถ
เส
วฺหํ
อึ
(  ิ)มฺหา
อํ
มฺเห
 
***  อี  มักรัสสะ  เป็น  อิ เสมอ เช่น กริ, ปจิ, อลภิ.
***  อี  รัสสะ อี เป็น  อิ แล้ว ทีฆะหลังธาตุ และปัจจัยได้บ้าง เช่น อคมาสิ,  ปกฺกามิ, อุทปาทิ.
*** อี เฉพาะ ลภ ธาตุ แปงเป็น ตฺถ, ตฺถํ ได้บ้าง เช่น อลตฺถ, อลตฺถํ.
***  อี แปลงเป็น จฺฉิ ได้ เช่น ปุจฺฉิ (ปุส), อกฺโกจฺฉิ (กุส)
*** อี ใช้แทน  โอ ได้ เช่น อกาสิ
*** อุํ  คงรูป  ลง ส อาคม เป็น สุ เช่น อาโรเจสุํ
*** อุํ  แปลงเป็น อํสุ ได้ เช่น อกํสุ, อาหํสุ,  อทํสุ.
*** อุํ  แปลงเป็น อึสุ ได้ เช่น กรึสุ,  วทึสุ, กถยึสุ.
*** โอ  ไม่นิยมคงใช้แต่ อี แทน เช่น อกาสิ ดังกล่าวแล้ว
*** อึ แปลงเป็น  ตฺถํ ได้ เช่น  อาสิตฺถํ
 
 
 
 
(๗.)  ภวิสฺสนฺติ (จัก)
 
ปรสฺสปทํ
อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ
พหุวจนะ
เอกวจนะ
พหุวจนะ
(  ิ)สฺสติ
(  ิ)สฺสนฺติ
สฺสเต
สฺสนฺเต
(  ิ)สฺสสิ
(  ิ)สฺสถ
สฺสเส
สฺสวฺเห
(  ิ)สฺสามิ
(  ิ)สฺสาม
(สฺสํ)
สฺสามฺเห
*** สฺสติ สฺสนฺติ สฺสสิ สฺสถ สฺสามิ สฺสาม ลบ สฺส คงไว้แต่ ติ นฺติ  สิ  ถ  อามิ  อาม  เช่น  กาหติ, กาหนฺติ, กาหสิ, กาหถ, กาหามิ, กาหาม
*** ลจฺฉติ (ลภ ธาตุ), วจฺฉติ (วส ธาตุ),  วกฺขติ (วจ ธาตุ), ทกฺขติ (ทิส ธาตุ), มีกฎเหมือนข้างต้นทุกประการ คือ ลบ สฺส
*** สฺสามิ ใช้  สฺสํ แทนได้บ้าง เช่น ลภิสฺสํ ฯ
 
(๘.)  กาลาติปตฺติ (จัก-แล้ว  อ นำหน้า  จักได้-แล้ว)
 
ปรสฺสปทํ
อตฺตโนปทํ
เอกวจนะ
พหุวจนะ
เอกวจนะ
พหุวจนะ
(  ิ)สฺสา (  ิ สฺส)
(  ิ)สฺสํสุ
สฺสถ
สฺสึสุ
(  ิ)สฺเส
(  ิ)สฺสถ
สฺสเส
สฺสวฺเห
(  ิ)สฺสํ
(  ิ)สฺสามฺหา
สฺสํ
สฺสามฺหเส
*** สฺสา  มักรัสสะเป็น อ เสมอ เช่น อปจิสฺส,  อสกฺขิสฺส, อลภิสฺส, อภวิสฺส.
 
.   วิภัตติ  ลงในกาลดังนี้ วตฺตมานา - ปญฺจมี - สตฺตมี ลงในปัจจุบันกาลปโรกฺขา - หิยตฺตนี - อชฺชตฺตนี  
           ลงในอดีตกาล.  ภวิสฺสนฺติ - กาลาติปตฺติ ลงในอนาคตกาล
. กาล คือ เวลากระทำของกิริยานั้น ๆ ในอาขยาตโดยย่อมี  คือ 
(๑.)  ปัจจุบันกาล    กาลที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้า   
(๒.)  อดีตกาล         กาลที่ล่วงแล้ว
(๓.)  อนาคตกาล    กาลที่ยังมาไม่ถึง
.  กาลโดยพิสดารมี   คือ 
()  ปัจจุบันกาลจัดเป็น  คือ 
๑.๑ปัจจุบันแท้ แปลว่า  อยู่ 
๑.๒  ปัจจุบันใกล้อดีต  แปลว่า ย่อม 
๑.๓  ปัจจุบันใกล้อนาคต  แปลว่า จะ.
()  อดีตกาลจัดเป็น  คือ 
๒.๑  ล่วงแล้วไม่มีกำหนด แปลว่า แล้ว 
๒.๒ล่วงแล้ววานนี้  แปลว่า แล้ว ถ้ามี  อยู่หน้าแปลว่า ได้-แล้ว
๒.๓ ล่วงแล้ววันนี้  แปลว่า แล้ว ถ้ามี  อยู่หน้าแปลว่า ได้-แล้ว.
()  อนาคตกาลจัดเป็น  คือ 
๓.๑ อนาคตกาลแห่งปัจจุบัน แปลว่า จัก.
๓.๒ อนาคตกาลแห่งอดีต  แปลว่า จัก-แล้ว ถ้ามี  อยู่หน้า แปลว่า  จักได้-แล้ว
                (ปัจจุบันกาล ๓ อดีตกาล ๓ อนาคต ๒  รวมเป็น ๘)
 ปญฺจมี  บอกความบังคับ-ความหวัง-ความอ้อนวอน.  สตฺตมี บอกความยอมตาม-ความกำหนด-ความรำพึง.
.  บท คือ ฝ่ายหรือส่วนแห่งวิภัตติ แบ่งเป็น  คือ 
(๑.) ปรัสสบท บทเพื่อผู้อื่น  เป็นเครื่องหมายให้รู้กริยาที่เป็นกัตตุวาจก และเหตุกัตตุวาจก
(๒.)  อัตตโนบท  บทเพื่อตน  เป็นเครื่องหมายให้รู้กิริยาที่เป็นกัมมวาจก ภาววาจก และเหตุกัมมวาจก  
     แต่ไม่แน่นอนเหมือนปัจจัย.
.  วจนะ แปลว่า คำพูด มี  คือ เอกวจนะ หมายเอาสิ่งของสิ่งหนึ่งสิ่งเดียว  และ พหุวจนะ หมายเอา
      ของหลายสิ่ง หลายอัน  เหมือนอย่างวจนะนาม.
๑๐.  บุรุษ คือ ชั้นของกิริยาอาขยาตมี   คือ .  ประถมบุรุษ   .  มัธยมบุรุษ .  อุตตมบุรุษ 
        เหมือนกับบุรุษสัพพนาม  เช่น .  โส ยาติ เขาไป.  ตฺวํ ยาสิ เจ้าไป.  อุ.  อหํ  ยามิ  ข้าไป.
๑๑.  ธาตุ คือกิริยาศัพท์ที่เป็นมูลราก  โดยย่อมี  คือ 
(๑.)  สกมฺมธาตุ ได้แก่  ธาตุที่เรียกหากรรม
(๒.)  อกมฺมธาตุ ได้แก่   ธาตุที่ไม่เรียกหากรรม.
๑๒.  ธาตุโดยพิสดารมี  ๘ หมวด ตามที่ประกอบด้วยปัจจัยตัวเดียวกัน คือ
                ๑.  หมวด ภู ธาตุ                ๒.  หมวด รุธ ธาตุ.           ๓.  หมวด ทิว ธาตุ.            ๔.  หมวด สุ ธาตุ.
                ๕.  หมาด กี ธาตุ                ๖.  หมวด คห ธาตุ.            ๔.  หมวด ตน ธาตุ.            ๘. หมวด จุร ธาตุ
๑๓.  วาจก  คือกริยาศัพท์ที่บอกตัวประธาน มี  ๕ คือ 
                ๑.  กตฺตุวาจก อุ.  สูโท  โอทนํ ปจติ.  พ่อครัวหุงอยู่  ซึ่งข้าวสุก.
                ๒.  กมฺมวาจก อุ.  สูเทน  โอทโน ปจิยเต.  ข้าวสุกอันพ่อครัวหุงอยู่.
                .  ภาววาจา อุ.  เตน  ภูยเต.  อันเขาเป็นอยู่
                .  เหตุกมฺมวาจก อุ.  สามิโก  สูทํ โอทนํ ปาเจตินายยังพ่อครัวให้หุงอยู่  ซึ่งข้าวสุก.        
                .  เหตุกมฺมมวาจก อุ.  สามิเกน สูเทน (สูทํ)  โอทโน  ปาจาปิยเต.  ข้าวสุก   อันนาย  ยังพ่อครัวให้หุงอยู่.
๑๔.  ปัจจัย  คือเครื่องปรุงแต่ง ลงในวาจกทั้ง  ดังนี้
                .  ปัจจัยที่ลงในกตฺตุวาจก มี ๑๐ ตัว คือ  อ-เอ--ณุ-ณา-นา-ณฺหา-โอ-เณ-ณย
                .  ปัจจัยที่ลงในกมมฺวาจกมี  ตัว คือ ย  พร้อมทั้งลง อิ อาคมหน้า  ด้วย
                .  ปัจจัยที่ลงในภาววาจก มี  ตัว คือ  ย
                .  ปัจจัยที่ลงในเหตุกตฺตุวาจก มี  ตัว คือ  เณ-ณย-ณาเป-ณาปย
                .  ปัจจัยที่ลงในเหตุกมฺมวาจก มี  ตัว คือ  เณ-ณย-ณาเป-ณาปย- และลง อิ อาคมหน้า   ด้วย
๑๕.  ปัจจัยที่ควรท่องจำให้ขึ้นใจเป็นพิเศษ คือ
(๑.) ข-ฉ-ส  ปัจจัย  ๓ ตัวนี้ ประกอบด้วยธาตุ  ตัว คือ ภุช-ฆส-หร-สุ-ปา แปลว่า ปรารถนา
      เช่น พุภุกฺขติ  ย่อมปรารถนาจะกิน.  ชิฆจฺฉติ ย่อมปรารถนาจะกิน.  ชิคึสติ  ย่อมปรารถนาจะนำไป.
(๒.)  อาย-อีย ปัจจัย  ตัวนี้  สำหรับประกอบนามศัพท์อย่างเดียว ทำให้เป็นกิริยา แปลว่า ประพฤติเพียงดัง เช่น 
       ปพฺพตายติ  ย่อมประพฤติเพียงดังภูเขา.     ปุตฺติยติ  ย่อมประพฤติเพียงดังบุตร.